Informed Health Choices Podcasts
Each episode includes a short story with an example of a treatment claim and a simple explanation of a Key Concept used to assess that claim
| 1 Comment | EvaluatedInformed Health Choices Primary School Resources
A textbook and a teachers’ guide for 10 to 12-year-olds. The textbook includes a comic, exercises and classroom activities.
| 0 Comments | EvaluatedEbm@school – a curriculum of critical health literacy for secondary school students
A curriculum based on the concept of evidence-based medicine, which consists of six modules.
| 0 Comments | EvaluatedKnow Your Chances
This book has been shown in two randomized trials to improve peoples' understanding of risk in the context of health care choices.
| 0 Comments | EvaluatedPhilosophy for Children (P4C)
P4C promotes high-quality classroom dialogue in response to children’s own questions about shared stories, films and other stimuli.
| 0 Comments | EvaluatedMcMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop Resources – Therapy module
McMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop – Therapy module.
| 0 CommentsMcMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop Resources – Systematic review module
McMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop – Systematic review module.
| 0 CommentsEvidence for the frontline: A report for the Alliance for Useful Evidence
Jonathan Sharples’ introduction to evaluation in education, policing and other public services.
| 0 CommentsThe DIY evaluation guide
The Educational Endowment Foundation’s DIY Evaluation Guide for teachers introduces the key principles of educational evaluation.
| 0 CommentsUsing research evidence: a practice guide
NESTA’s guide to using research evidence to inform decisions in policy and practice.
| 0 CommentsPolicy: twenty tips for interpreting scientific claims
This list will help non-scientists to interrogate advisers and to grasp the limitations of evidence.
| 0 CommentsUnderstanding Health Research: evidence-based medicine, practice and policy
Evidence-based medicine, practice and policy are terms used to describe making decisions using scientific evidence.
| 0 CommentsUnderstanding Health Research: are some types of evidence better than others?
Understanding Health Research, a tool for making sense of health studies: are some types of evidence better than others?
| 0 CommentsReading the Medical literature
American College of Obstetricians and Gynaecologists (ACOG) introduction to critical appraisal and evidence-based medicine.
| 0 CommentsSuny Downstate; Randomized Controlled Studies
Suny Downstate’s explanation of why random allocation to treatment comparison groups is important.
| 0 CommentsWhat is a meta-analysis? How to use a systematic review
Oxford University’s Centre for Evidence-Based Intervention guide on how to use evidence from systematic reviews.
| 0 CommentsEvidence-Based medicine in Pharmacy Practice
An article by Suzanne Albrecht on Evidence-Based Medicine in Pharmacy Practice.
| 0 CommentsEvaluating relevance
How to evaluate relevance of research in Michigan State University’s Evidence-Based Medicine Course.
| 0 CommentsEvidence-based medicine
The European Patients’ Academy web-based introductory course on Evidence-Based Medicine.
| 0 CommentsRandomisation explained in 1 minute
A 1 minute animation produced by Cancer Research UK, explaining the term ‘randomised trial’.
| 0 CommentsTeaching Tips: randomisation for trials
Chris Del Mar describes a group exercise that enables students to appreciate how trials work, and how they can go wrong.
| 0 CommentsTeaching Tip: Understanding Regression to the mean in preparation for teaching EBM
Chris Del Mar uses dice to simulate the natural fluctuations in pain, and to illustrate regression-to-the mean by re-testing the outliers.
| 0 CommentsEvidence for everyday health choices
A 17-min slide cast by Lynda Ware, on the history of EBM, what Cochrane is, and how to understand the real evidence behind the headlines.
| 0 CommentsSunn Skepsis
Denne portalen er ment å gi deg som pasient råd om kvalitetskriterier for helseinformasjon og tilgang til forskningsbasert informasjon.
| 0 CommentsDon’t jump to conclusions, #Ask for Evidence
An introduction to the ‘Ask for Evidence’ initiative launched by ‘Sense about Science’ in 2016.
| 0 CommentsHow can you know if the spoon works?
Short, small group exercise on how to design a fair comparison using the "claim" that a spoon helps retain the bubbles in champagne.
| 0 CommentsIt’s just a phase
A resource explaining the differences between different trial phases.
| 0 CommentsTeach Yourself Cochrane
Tells the story behind Cochrane and the challenges finding good quality evidence to produce reliable systematic reviews.
| 3 CommentsBuilding evidence into education
Ben Goldacre explains why appropriate infrastructure is need to do clinical trials of sufficient rigour and size to yield reliable results.
| 0 CommentsThe strange case of the magnetic wine
Ben Goldacre shows how claims for the wine-maturing effects of magnets could be assessed with 50 people in an evening.
| 0 CommentsDragon Lesson Plan to investigate multivariate categorical data
Investigating multivariate data by sorting and organising a set of dragon cards to uncover information about the set.
| 0 CommentsBias – the biggest enemy
University of New South Wales Medical Stats Online Tutorial 5 addresses ‘Bias - the biggest enemy’.
| 0 CommentsGeneration R – Pictionary research activity
GenerationR’s version of Pictionary using research concepts instead of usual game cards, allocated in different levels of difficulty.
| 0 CommentsGeneration R – Clinical trials card-sorting exercise
Card-sorting exercise developed by GenerationR to familiarise children and young people with jargon terms used by clinical researchers.
| 0 CommentsClinical Research Workshop
‘Clinical Research Workshop’ developed for young people by the Centre of the Cell.
| 0 CommentsBasic principles of randomised trials, and validity
A 8-min talk on ‘Basic principles of Randomised Trials, and Validity’, illustrated by 15 slides, with notes.
| 0 CommentsDefining clinical questions
An 8-min talk on ‘Defining Clinical Questions’ illustrated by 10 slides, with notes.
| 0 CommentsAppraising the evidence
Six key slides produced by the University of Western Australia to introduce critical appraisal.
| 0 CommentsDetectives in the classroom
Five modules of materials for promoting epidemiology among high school students.
| 0 Comments10 Components of effective clinical epidemiology: How to get started
PDF & Podcast of 1-hr talk by Carl Heneghan (Centre for Evidence-Based Medicine, Oxford) on effective clinical epidemiology.
| 0 CommentsCritical appraisal of clinical trials
Slides developed by Amanda Burls for an interactive presentation covering the most important features of well controlled trials.
| 0 CommentsCaffeine Soft Drinks affect Human Heart Rate. Lesson Plan
A lesson to illustrate how medical researchers study the effects of drugs on people.
| 0 CommentsInvestigating how to remove bacteria from hands
Investigate the best way to remove bacteria from your hands.
| 0 CommentsHow Science Works
Definitions of terms that students have to know for 'How Science Works' and associated coursework, ISAs, etc
| 0 CommentsGeneration R – The importance of medical research in children and young people
2/3, 35-min video at the launch of GenerationR, a network of young people who advise researchers.
| 0 CommentsMaking sense of randomized trials
A description of how clinical trials are constructed and analysed to ensure they provide fair comparisons of treatments.
| 0 CommentsRandomized Control Trials
1/2, 40-min lecture on randomized trials by Dr R Ramakrishnan (Lecture 25) for the Central Coordinated Bioethics Programme in India.
| 0 CommentsRandomised Control Trials – CASP
This module looks at the critical appraisal of randomised trials.
| 0 CommentsMMR: the facts in the case of Dr Andrew Wakefield
This 15-page cartoon explains the events surrounding the MMR controversy, and provides links to the relevant evidence.
| 5 CommentsAvoiding biased treatment comparisons
Biases in tests of treatments are those factors that can lead to conclusions that are systematically different from the truth.
| 0 CommentsWhy treatment comparisons are essential
Formal comparisons are required to assess treatment effects and to take account of the natural course of health problems.
| 0 CommentsWhy treatment uncertainties should be addressed
Ignoring uncertainties about the effects of treatments has led to avoidable suffering and deaths.
| 0 Comments‘Ask for Evidence’ lesson plan
A lesson plan and resources to give 13-16 year olds the opportunity to explore if what they see, read, and hear is true.
| 0 CommentsInteractive PowerPoint Presentation about Clinical Trials
An interactive Powerpoint presentation for people thinking about participating in a clinical trial or interested in learning about them.
| 0 CommentsWorld without bias
Overcoming biases is difficult but important. Treatment comparisons must be fair.
| 0 CommentsAvoid despair about biases
People who choose to ignore biases may do themselves and others harm.
| 0 CommentsIntroduction to clinical trials: lay-friendly video
This lay-friendly video introduction to clinical trials was created by the European Communication on Research Awareness Needs Project.
| 3 CommentsOverview of study designs
11 slides and a 4-min commentary overviewing study designs for clinical research. (from Univ Mass Med School).
| 1 CommentScience fact or fiction? Making sense of cancer stories
A Cancer Research UK blog, explaining how to assess the quality of health claims about cancer.
| 0 CommentsWorksheet for planning fair tests
A TES worksheet to guide primary school children in planning a Fair Test.
| 0 CommentsDrug trials in healthy volunteers
A 6-minute video illustrating an early phase clinical trial in healthy volunteers.
| 0 CommentsHow are medicinal drugs tested?
A group of text files for teaching students about how medicinal drugs are tested.
| 0 CommentsDesigning a fair test
Using an everyday example to try to help students realise what fair testing involves.
| 0 CommentsCEBM – Study Designs
A short article explaining the relative strengths and weaknesses of different types of study design for assessing treatment effects.
| 0 CommentsIntroduction to Critical Appraisal
30-slide introduction by Jason Curtis, to Critical Appraisal.
| 0 CommentsRandomized Controlled Trial Protocols
A 1-hour videoed lecture explaining protocols for Randomized Control Trials (RCTs).
| 0 CommentsScience Weekly Podcast – Ben Goldacre
A 1-hour audio interview with Ben Goldacre discussing misleading claims about research.
| 0 CommentsHow do you know which healthcare research you can trust?
A detailed guide to study design, with learning objectives, explaining some sources of bias in health studies.
| 0 CommentsSmart Health Choices: making sense of health advice
The Smart Health Choices e-book explains how to make informed health decisions.
| 0 CommentsMethodology of clinical trials
Eurordis training on the methodology of clinical trials for representatives of patients’ organisations.
| 0 CommentsHow to read articles about healthcare
This article 'How to read health news behind the headlines', by Dr Alicia White, explains how to assess health claims in the media.
| 0 CommentsInvestigation: Designing a fair test
A teaching tool for teachers to illustrate how to carry out fair tests.
| 0 CommentsThe basic principles of Evidence Based Medicine
A webpage explaining the foundations of systematic reviews.
| 0 CommentsRoutine use of unvalidated therapy is less defensible than careful research to assess the effects of those treatments
It is more difficult to obtain consent to give a treatment in a clinical trial than to give the same treatment for patients in practice.
| 2 CommentsThe Gold Standard: What are randomised control trials and why are they important?
A four minute video by the MRC Clinical Trials Unit about the importance of randomised control trials.
| 0 CommentsLesson plan for teaching secondary school students about double-blind trials
This lesson plan provides resources to run stimulating activities about fair tests of treatments in a classroom setting.
| 0 CommentsViva la Evidence!
A brilliant song and video by James McCormack explaining the basics of evidence-based medicine.
| 0 CommentsSome Studies That I Like to Quote
This short music video encourages health professionals to use evidence to help reach treatment decisions in partnership with patients.
| 0 Commentsแพทย์เล่าเรื่องการคาดเดาในการเลือกวิธีการรักษา
“ในการสนทนาจำลองระหว่างแพทย์ 2 ราย แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปให้ความเห็นดังต่อไปนี้ “สิ่งสารพัดที่เราทำเป็นการคาดเดา ซึ่งทั้งคุณทั้งผมก็คงไม่สบายใจที่เป็นอย่างนั้น ทางเดียวที่จะรู้ได้ว่าสิ่งใดได้ผลคือต้องมีการทดลองที่ได้คุณภาพ ซึ่งก็ลำบาก เราจึงทำตามใจชอบ ผมมั่นใจว่าในบางกรณีก็ไม่มีปัญหา เพราะใช้ประสบการณ์ในการรักษาและอื่นๆ ทว่าในกรณีอื่นเราก็อาจเข้าใจ ผิดว่าทำถูกแล้ว แต่เพราะสิ่งที่เราทำไม่ถือเป็นการทดลอง จึงไม่มีการกำกับดูแล และไม่มีใครใช้มันเป็นบทเรียน” Adapted from Petit-Zeman S. […]
| 0 Commentsโศกนาฏกรรมการแพร่ระบาดของอาการตาบอดในทารก
“ทันทีที่สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด มีการนำวิธีการรักษาใหม่ๆ หลายวิธีมาใช้แก้ปัญหาทารกคลอดก่อนกำหนด แต่ภายในไม่กี่ปีก็ปรากฏชัดว่าการเปลี่ยนแปลงแนวทางการดูแลทารกเหล่านี้ก่อผลร้ายที่ไม่คาดฝัน โศกนาฏกรรมทางการแพทย์ที่ร้ายแรงที่สุดคือ ‘การแพร่ระบาด’ ของอาการตาบอดจากจอประสาทตาผิดปกติในทารกที่คลอดก่อนกำหนด (retrolental fibroplasia) ในช่วงปี ค.ศ. 1942-1954 ความผิดปกตินี้สัมพันธ์กับการให้ออกซิเจนในการดูแลเด็กแรกเกิดที่มีพัฒนาการไม่สมบูรณ์ โดยต้องใช้ความพยายามนานถึง 12 ปี กว่าจะหยุดการแพร่ระบาดของอาการนี้ได้ แต่ก็เป็นตัวอย่างที่ทำให้หลายคนตาสว่างว่าจำเป็นต้องมีการประเมินนวัตกรรมทางการแพทย์อย่างเป็นระบบก่อนยอมให้นำมาใช้ได้ทั่วไป” Silverman WA. […]
| 0 Commentsเรื่องเล่าก็เป็นแค่เรื่องเล่า
“สมองของเราดูจะโปรดปรานเรื่องที่เล่าต่อๆ กันมา เราเรียนรู้ได้ง่ายที่สุดผ่านเรื่องเล่าที่น่าสนใจ แต่ผมตกใจที่ผู้คนมากมาย ซึ่งรวมถึงเพื่อนผมหลายคน ไม่เห็นหลุมพรางของวิธีนี้ วิทยาศาสตร์รู้ ว่าเรื่องเล่าและประสบการณ์ส่วนตัวนั้นกลับขาวเป็นดำได้ จึงต้องมีผลที่ตรวจสอบได้และทำซ้ำได้ ในทางกลับกัน การแพทย์ช่วยให้วิทยาศาสตร์ก้าวหน้าได้น้อยมาก มนุษย์มีความหลากหลายมากจนไม่อาจมั่นใจอะไรได้เลยในการรักษาผู้ป่วยแต่ละคน จึงมีช่องว่างเหลือเฟือให้ใช้การคาดเดา แต่เราต้องชัดเจนว่าขอบเขตอยู่ตรงไหน เพราะหากเราล้ำเส้นจะทำลายหลักการของวิทยาศาสตร์ทันทีจะกลายเป็นเอาง่ายเข้าว่าจนข้อเท็จจริงและความคิดเห็นปนเปกันแทบแยกไม่ออก” Ross N. Foreword. In: Ernst […]
| 0 Commentsบทที่ 1 ใหม่กว่าแล้วดีกว่าไหม
ประเด็นสำคัญ การตรวจสอบวิธีเป็นเรื่องจำเป็น เพราะวิธีการรักษาใหม่มีโอกาสพอๆ กันที่จะแย่กว่า หรือดีกว่าวิธีการรักษาที่ใช้กันอยู่ การตรวจสอบวิธีการรักษาที่ (ไม่เที่ยงธรรม) อาจทำให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมานและเสียชีวิต วิธีการรักษาที่อนุมัติให้ใช้แล้วก็ใช่ว่าปลอดภัยเสมอไป ต้องใช้เวลาระยะหนึ่งกว่าอาการข้างเคียงจากวิธีการรักษาจะปรากฏ จากวิธีการรักษามักถูกเน้นเกินจริง ขณะที่มักถูกกลบเกลื่อน ทำไมต้องมีการตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรม หากขาดการประเมินอย่างเที่ยงธรรม…คือไม่ลำเอียง…ก็อาจมีการสั่งใช้วิธีการรักษาที่ไม่ได้ผลหรือกระทั่งเป็นโทษเพราะนึกว่ามีประโยชน์ หรือตรงข้าม การรักษาที่ได้ผลก็อาจถูกละเลยเพราะมองว่าไม่มีประโยชน์ จึงควรตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรมกับวิธีการรักษาทุกวิธี โดยไม่ต้องสนใจว่ามันมีที่มาอย่างไร หรือเป็นวิธีมาตรฐานหรือวิธีเสริม/ทางเลือกหรือไม่ ไม่ควรเชื่อทฤษฎีเกี่ยวกับผลของวิธีการรักษาที่ยังไม่ได้ตรวจสอบ […]
| 0 Commentsผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินแทบไม่ได้รับประโยชน์จากงานวิจัย
“มีการทดลองไม่กี่เรื่องที่เปรียบเทียบทางเลือกต่างๆ หรือการดูแลผู้ป่วยในระยะยาว การศึกษาต่างๆ ทำในระยะสั้นจนไม่น่าเชื่อถือ เมื่อคำนึงถึงว่าโรคนั้นมีแนวโน้มจะเรื้อรังแทบตลอดชีวิต ดูเหมือนสิ่งที่รู้ชัดมีเพียงว่าวิธีการรักษาที่ใช้นั้นดีกว่าไม่ทำอะไรเลย ที่สำคัญนักวิจัยละเลยประสบการณ์ มุมมอง ความต้องการ และ ความพึงพอใจของผู้ป่วย” อาร์ จ็อบลิง ประธานสมาคมโรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis Association) Jobling R. Therapeutic research […]
| 0 Commentsโรคทางจิตเวช
น่าเสียดายที่บางครั้งงานวิจัยก็ขาดคุณภาพ หรือไม่ตรงประเด็น ดังตัวอย่างในอาการที่ทรมาน เรียกว่ากลุ่มอาการเคลื่อนไหวผิดปกติจากยา (tardive dyskinesia) ซึ่งเป็นผลข้างเคียงรุนแรงจากการใช้ยาต้านอาการทางจิต (antipsychotic) เป็นเวลานานเพื่อรักษาโรคทางจิตเวช โดยเฉพาะโรคจิตเภท อาการเด่นที่สุดคือ การที่ปากและใบหน้าขยับเองซ้ำๆ ทั้งหน้า บูดเบี้ยว เลียปาก แลบลิ้นบ่อยๆ และดูดกระพุ้งแก้ม หรือทำแก้มพอง โดยอาจมีมือเท้ากระตุกร่วมด้วย ผู้ป่วย […]
| 0 Commentsการติดเชื้อไวรัสโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Human Immunodeficiency Virus หรือ HIV) ในเด็ก
ผลจากงานวิจัยที่มีคุณภาพยังเป็นประโยชน์ต่อเด็กที่ติดเชื้อ HIV ซึ่งก่อโรคเอดส์ (AIDS) ตัวเลขจากโครงการเอดส์แห่งสหประชาชาติ (the joint United Nations Programme on HIV / AIDS หรือ UNAIDS) เมื่อปลายปีค.ศ. 2009 ชี้ว่ามีเด็กที่มีเชื้อ HIV […]
| 0 Commentsโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและความพิการเรื้อรัง อัตราการเสียชีวิตเมื่อเป็นโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกคือ 1-2 ใน 6 และเพิ่มเป็น 4 ใน 6 ในครั้งถัดๆ ไป หนึ่งในสาเหตุของโรคนี้คือการตีบ (stenosis) ของหลอดเลือดแดงคาโรทิด ซึ่งเป็นหลอดเลือดแดงบริเวณ คอที่นำเลือดไปเลี้ยงสมอง บางครั้งไขมันที่สะสมด้านในหลอดเลือดแดงคาโรทิดก็ปริแตกและอุดตันแขนงหลอดเลือดแดงที่ขนาดเล็กกว่า จนเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ในทศวรรษ 1950 […]
| 0 Commentsโลกในฝัน
“โลกในฝัน เราสามารถเก็บข้อมูลผลการรักษาโดยไม่ระบุตัวตนและเปรียบเทียบกับประวัติการรักษาได้เต็มที่ เว้นแต่ในผู้ที่ห่วงความเป็นส่วนตัวมากกว่าชีวิตผู้อื่น…หากผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาแต่ยังไม่แน่นอนจริงๆ ว่าวิธีใดดีที่สุด ผู้ป่วยจะถูกสุ่มอย่างเรียบง่ายและมีประสิทธิภาพให้รับวิธีการรักษาหนึ่ง พร้อมติดตามการเปลี่ยนแปลง โลกในฝัน แนวคิดเช่นนี้จะผสานเป็นหนึ่งเดียวกับแนวคิดเรื่องการดูแลสุขภาพของเราจนผู้ป่วยเห็นเป็นเรื่องธรรมดา” Goldacre B. Pharmaco-epidemiology would be fascinating enough even if society didn’t manage […]
| 0 Commentsการเกิดและตรวจสอบข้อสงสัยเกี่ยวกับผลเสียที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา
การเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา บ่อยครั้งที่ผู้ประกอบการวิชาชีพด้านสุขภาพหรือผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มเฉลียวใจเรื่องผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา ทั้งที่ร้ายและดี [10] เนื่องจากการตรวจสอบวิธีการรักษาซึ่งต้องใช้เพื่อขออนุญาตวางจำหน่าย ทำกับคนเพียงไม่กี่ร้อย หรือไม่กี่พันคน และให้วิธีการรักษานานไม่กี่เดือน ในขั้นนี้จึงมักพบ เพียงผลข้างเคียงระยะสั้นและผลข้างเคียงที่พบบ่อย ต้องรอจนมีการใช้วิธีการรักษาดังกล่าวกันแพร่หลายขึ้น เป็นระยะเวลานานขึ้นและในกลุ่มผู้ป่วยที่หลากหลายกว่าที่เข้าร่วมในการตรวจสอบเพื่อขออนุญาต จึงจะพบผลข้างเคียงที่พบได้ยาก หรือที่ใช้เวลากว่าจะแสดงออก ในหลายๆ ประเทศ รวมถึงสหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ สวีเดน เดนมาร์ก […]
| 2 Commentsการเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน
การเปรียบเทียบความรู้สึกและผลการรักษาของผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน แต่บังเอิญได้รับการรักษาแตกต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน ยังเป็นวิธีที่ใช้เพื่อประเมินผลของวิธีการรักษา ทว่าแนวทางนี้ก็อาจทำให้เข้าใจผิดโดยสิ้นเชิงเช่นกัน ปัญหาไม่ต่างจากการเปรียบเทียบโดยใช้ “กลุ่มควบคุมในอดีต” คือจะรู้ได้อย่างไรว่าก่อนเริ่มรักษา กลุ่มคนที่ได้รับวิธีการรักษาต่างๆ คล้ายกันจนเปรียบเทียบได้อย่างเที่ยงตรง หรือพูดอีกอย่างคือ สิ่งที่เปรียบเทียบคล้ายคลึงกันจริงหรือเปล่า ในกรณี “กลุ่มควบคุมในอดีต” นักวิจัยอาจใช้การปรับค่าทางสถิติและการวิเคราะห์ เพื่อให้แน่ใจว่าคล้ายคลึงกัน แต่ ก็ทำได้เฉพาะเมื่อมีการบันทึกและพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้วย แต่น้อยครั้งที่เกิดกรณีตรงเงื่อนไขเหล่านี้ การแปลผลการวิเคราะห์จึงต้องใช้ความระมัดระวัง หากหลงเชื่ออาจก่อให้เกิดเหตุสลดครั้งใหญ่ […]
| 0 Commentsการเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับวิธีการรักษาอยู่ในขณะนั้นกับผู้ป่วยในอดีตที่คล้ายคลึงกัน แต่ได้รับการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีอื่น
บางครั้งนักวิจัยก็เปรียบเทียบผู้ป่วยที่รับการรักษาในขณะนั้นกับผู้ป่วยในอดีตที่คล้ายคลึงกัน แต่ได้รับการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีอื่น ซึ่งอาจให้หลักฐานที่เชื่อถือได้หากผลจากการรักษาเด่นชัด เช่น เมื่อวิธีการรักษาใหม่ช่วยให้ผู้ป่วยบางรายรอดชีวิตจากโรคซึ่งเมื่อก่อนหมดทางรอด ทว่าเมื่อผลของวิธีการรักษาแตกต่างกันไม่เด่นชัด แต่ยังสำคัญ การเปรียบเทียบกับ “กลุ่มควบคุมในอดีต” ก็อาจจะก่อปัญหา แม้นักวิจัยใช้การปรับค่าทางสถิติและการวิเคราะห์ เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่เปรียบเทียบคล้ายคลึงกัน การ วิเคราะห์เหล่านี้ก็ไม่อาจพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องซึ่งไม่ได้บันทึกในผู้ป่วยแต่ละกลุ่ม ดังนั้น เราจึงไม่มีทางมั่นใจได้เต็มร้อยว่าสิ่งที่เปรียบเทียบนั้นคล้ายคลึงกัน จะเห็นปัญหาเหล่านี้ชัดเจนด้วยการเปรียบเทียบผลจากการใช้วิธีรักษาเดียวกันในผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน แต่คนละช่วงเวลา มีการวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะสุดท้าย 19 […]
| 0 Commentsวิธีการรักษาที่ให้ผลปานกลาง แต่ก็สำคัญ
เนื้อเรื่องย่อย: การเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับวิธีการรักษาอยู่ในขณะนั้นกับผู้ป่วยในอดีตที่คล้ายคลึงกัน แต่ได้รับการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีอื่น การเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน การจัดสรรวิธีการรักษาต่างๆ ตามแผนโดยไม่ลำเอียง รูปแบบต่างๆ ในการใช้การจัดสรรอย่างไม่ลำเอียง (แบบสุ่ม) เพื่อเปรียบเทียบวิธีการรักษา การตามสังเกตทุกคนที่อยู่ในการเปรียบเทียบวิธีการรักษา การจัดการเมื่อมีสิ่งที่ผิดไปจากวิธีการรักษาที่จัดสรรให้ ช่วยให้ผู้เข้าร่วมการศึกษาใช้วิธีการรักษาตามที่จัดสรรให้
| 0 Commentsวิธีการรักษาที่เห็นผลเด่นชัด
บางครั้งผู้ป่วยก็ตอบสนองต่อวิธีการรักษาต่างจากที่เคยตอบสนองในอดีต และจากธรรมชาติของโรคนั้นๆ อย่างเด่นชัดจนชี้ขาดผลการรักษา ได้โดยไม่ต้องตรวจสอบให้ถี่ถ้วน (ดูบทที่ 5) [3] ในผู้ป่วยโรคโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ (pneumothorax) การแทงเข็มเข้าในช่องอกเพื่อระบายอากาศที่คั่งค้างออกทำให้อาการดีขึ้นทันตาเห็น ประโยชน์ของวิธีการรักษานี้จึงชัดเจน ตัวอย่างอื่นๆ ของผลที่เด่นชัด ได้แก่ มอร์ฟีนระงับปวด อินซูลินแก้ภาวะโคม่าเนื่องจากเบาหวาน และข้อสะโพกเทียมรักษาอาการปวดเนื่องจากข้ออักเสบ เป็นต้น ผลเสียจากการรักษาก็อาจเด่นชัด เช่นกัน […]
| 2 Commentsเปรียบเทียบสิ่งที่คล้ายกัน
การเปรียบเทียบคือแก่น การเปรียบเทียบคือแก่นของการตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรมทุกครั้ง บางครั้งแพทย์และผู้ป่วยก็เปรียบเทียบข้อดีของวิธีการรักษา 2 วิธีอยู่ในใจ เช่น ผู้ป่วยอาจรู้สึกว่าตนหรือผู้อื่นตอบสนองต่อวิธีการรักษาหนึ่งต่างจากวิธีที่เคยใช้ อีกทั้งตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 อัล-ราซี แพทย์ชาวเปอร์เซีย ได้เปรียบเทียบผลการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) ด้วยการระบายเลือดทิ้ง (blood-letting) กับผลการรักษาในผู้ป่วยที่ไม่ได้รับวิธีการรักษาดังกล่าว เพื่อดูว่าการระบายเลือดทิ้งมีประโยชน์หรือไม่ ปกติวิธีการรักษาจะถูกตรวจสอบโดยเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกัน การเปรียบเทียบนี้จะเที่ยงธรรมได้ก็ต่อเมื่อมั่นใจได้ว่าเป็นการเปรียบเทียบสิ่งที่คล้ายคลึงกัน นั่นคือ […]
| 2 Commentsแล้วการตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรมคืออะไร
คนส่วนใหญ่ทราบว่ารายงานในสื่อเกี่ยวกับความก้าวหน้าทางการแพทย์ใหม่ๆ ต้องฟังหูไว้หู แต่ความจริงที่น่าเศร้าคือ ต่อให้รายงานวิธีการรักษานั้นลงในวารสารวิชาการที่ดูได้มาตรฐาน เราก็ยังต้องระวัง เพราะมีการบิดเบือนและอวดอ้างเกยวกับวิธีการรักษาอยู่เป็นนิจ การประเมินความน่าเชื่อถือได้จึงเป็นเรื่องสำคัญ เราต้องรับความเสี่ยง 2 ประการ หากเชื่อรายงานผลจากการรักษาโดยไม่กลั่นกรอง คืออาจสรุปผิดว่าวิธีการรักษาที่ได้ผลนั้นไร้ประโยชน์ หรือกระทั่งเป็นอันตราย หรือกลับกัน การตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรมออกแบบเพื่อให้ได้ข้อมูลทเชื่อถือได้ของผลจากวิธีการรักษาต่างๆ โดย (1) เปรียบเทียบสิ่งที่คล้ายกันเพื่อลดสิ่งที่บิดเบือนผล (ความลำเอียง) (2) […]
| 0 Commentsบทที่ 6 การตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรม
ประเด็นสำคัญ การตรวจสอบวิธีอย่างเที่ยงธรรมมีความจำเป็น เพราะไม่อย่างนั้นเราอาจสรุปว่าวิธีการรักษานั้นๆ มีประโยชน์ ทั้งที่จริงไม่มีหรือกลับกัน เป็นพื้นฐานของการตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรมทุกวิธี เมื่อเปรียบเทียบวิธีการรักษาต่างๆ (หรือเปรียบเทียบระหว่างการรักษากับการไม่รักษา) หลักการเรื่องคือสิ่งสำคัญที่สุด ต้องพยายามลดในการประเมินผลการรักษา[/getit]. ผู้อ่านหลายๆ ท่านอาจไม่คุ้นเคยกับหลักการต่างๆ ที่รองรับการตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรม ทั้งที่ไม่ซับซ้อน อันที่จริง การที่เราเข้าใจโลกตามสัญชาตญาณในชีวิตประจำวันก็ต้องพึ่งหลักการเหล่านี้ แต่โรงเรียนกลับไม่สอนให้กระจ่าง ทั้งหลักการเหล่านี้ยังมักถูกถ่ายทอดด้วยภาษาซับซ้อนเกินจำเป็น คนจำนวนมากจึงมองเมินหัวข้อนี้ เพราะเชื่อว่าเกินความสามารถตนจะเข้าใจได้ […]
| 2 Commentsการแก้ไขความไม่แน่นอนคือความเป็นมืออาชีพ
“หนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเป็นมืออาชีพ…ควรเป็นความสามารถในการระบุและแก้ไขความไม่แน่นอนทางการแพทย์ ทุกวันผู้ประกอบวิชาชีพต้องเผชิญหน้าและรับมือกับความไม่แน่นอนเกี่ยวกับสาเหตุของโรค การวินิจฉัย และวิธีการรักษา แต่ความไม่แน่นอน เหล่านี้มักไม่ได้รับการยอมรับอย่างเปิดเผย ผู้ประกอบวิชาชีพบาง รายยังลำบากใจหากต้องยอมรับว่ามีความไม่แน่นอน โดยเฉพาะในการดูแลผู้ป่วย ความไม่แน่นอนเป็นตัวกระตุ้นชั้นยอดให้มีงานวิจัยทางการแพทย์ที่ช่วยยกระดับสุขภาพของผู้คน ซึ่งเป็นแก่นของภารกิจของสภาวิจัยการแพทย์ในอนาคต การที่ผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านสุขภาพพิจารณาผลการวิจัยซึ่งเพิ่มพูนขึ้นเรื่อยๆ ในสาขาของตนจะยิ่งทวีความสำคัญ เพื่อจะได้ตระหนักว่ายังมีความไม่แน่นอนเรื่องใด และมีงานวิจัยอะไรบ้างที่ดำเนินการอยู่ หรือต้องทำเพื่อแก้ไขความไม่แน่นอนเหล่านี้ โดยสรุป ในอนาคตเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับประโยชน์ การตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยควรเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นมืออาชีพ […]
| 0 Commentsเผชิญหน้ากับความไม่แน่นอน : เรื่องคอขาดบาดตาย
“การไม่เผชิญหน้ากับความไม่แน่นอนของผลการรักษา อาจทำให้เกิดความทุกข์ทรมานและการเสียชีวิตมหาศาลทั้งที่เลี่ยงได้ ถ้าก่อนนำไดอะซีแพม (diazepam) และเฟนิโทอิน (phenytoin) มาใช้กันชักในภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ซึ่งมีอาการชักร่วมด้วย (eclampsia) มีการเปรียบเทียบกับแมกนีเซียมซัลเฟต (magnesium sulphate) ซึ่งใช้กันมาหลายสิบปี คงลดจำนวนหญิงที่ต้องทรมานและเสียชีวิตได้หลายแสนคน เช่นเดียวกัน ถ้ามีการประเมินผลของสเตียรอยด์ชนิดให้เข้าในร่างกายในภาวะสมองบาดเจ็บก่อนจะนำมาใช้อย่างแพร่หลาย คงเลี่ยงการเสียชีวิตอันไม่สมควรได้หลายหมื่นราย นี่เป็นเพียง 2 กรณีจากกรณีตัวอย่าง มากมายที่แสดงว่า […]
| 0 Commentsการให้การรักษาโดยเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรม
ถ้าอย่างนั้น ควรทำอย่างไรเมื่อมีที่สำคัญเกี่ยวกับผลของวิธีการรักษาทั้งใหม่หรือเก่า ซึ่งยังไม่ได้รับการประเมินอย่างเหมาะสม คำตอบที่เห็นชัดคือ ควรทำตามอย่างแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งผู้เขียนกล่าวถึงข้างต้น คือแก้ไขความไม่แน่นอนนั้น โดยใช้วิธีการรักษาที่ยังไม่ได้รับการประเมินอย่างเพียงพอเฉพาะเมื่ออยู่ในงานวิจัย ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อให้ทราบมากขึ้นเกี่ยวกับผลทั้งที่พึงปรารถนาและไม่พึงปรารถนา นักจริยธรรมทางการแพทย์กล่าวไว้ดังนี้ “ถ้าเราไม่แน่ใจข้อดีของวิธีการรักษา (ใดๆ) เราก็ไม่อาจแน่ใจถึงประโยชน์เมื่อใช้แต่ละวิธี เช่น ในการรักษาผู้ป่วยแต่ละราย ดังนั้น การยืนกรานว่าวิธีการรักษานี้ดีหรือไม่ดี ระหว่างงานวิจัยที่มีคุณภาพยังไม่เสร็จสิ้นจึงไม่สมเหตุสมผล ซ้ำยังผิดจริยธรรม คำตอบของคำถามว่า […]
| 0 Commentsบทที่ 5 ทำอย่างไรเมื่อผลการรักษาไม่แน่นอน
ประเด็นสำคัญ น้อยครั้งที่พบจาก เรื่องผลของพบได้ดาษดื่น เป็นเรื่องปกติที่ผลของวิธีการรักษาแต่ละวิธีแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย การตรวจจับความแตกต่างนี้ได้ถูกต้องจึงมีความสำคัญ ต้องดำเนินการขั้นตอนต่างๆ เพื่อลดความไม่แน่นอน หากไม่มีใครรู้ชัดในประเด็นสำคัญเรื่องผลของวิธีการรักษาหนึ่งๆ การช่วยให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการลดความไม่แน่นอนเรื่องผลของวิธีการรักษาต่างๆ ทำได้มากกว่าที่เป็นอยู่อีกมาก ในบทนเราจะกล่าวถึงความไม่แน่นอนในแทบทุกผลทกล่าวอ้างของ วิธีการรักษาทั้งใหม่และเก่า เช่น อาจมีผู้กังขาเรื่องการให้ออกซิเจนเสริมใน ผู้ที่กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ซึ่งไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่ามีประโยชน์ แต่มีหลักฐานว่าเป็นอันตราย ความไม่แน่นอนนี้ยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่าง เหมาะสม [1] […]
| 1 Commentการสุ่มแยกตัวอย่าง (random allocation) – คำอธิบายอย่างง่าย
“การสุ่มตัวอย่างเป็นการลดความลำเอียง เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มวิธีการรักษานั้นเหมือนกัน ทั้งด้านปัจจัยที่ทราบและไม่ทราบ ซึ่งจะทำให้แน่ใจได้ว่าการที่ผลแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม เป็น เพราะวิธีการรักษาให้ผลที่ต่างกัน ไม่ใช่เพราะความแตกต่างของผู้ป่วย การสุ่มปิดโอกาสที่แพทย์จะเลือกวิธีการรักษาให้ผู้ป่วยที่มีลักษณะเฉพาะ ไม่ว่าโดยจงใจ หรือไม่รู้ตัว เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่มี ลักษณะต่างๆ ก็เลือกวิธีการรักษาไม่ได้” Harrison J. Presentation to Consumers’ Advisory Group […]
| 0 CommentsNo Resources Found
Try clearing your filters or selecting different ones.
Browse by Key Concept
Back to Learning Resources homeGET-IT Jargon Buster
About GET-IT
GET-IT provides plain language definitions of health research terms