2-11 All fair comparisons and outcomes should be reported

Many fair comparisons never get published, and outcomes are sometimes left out. Those that do get published are more likely to report favourable results. As a consequence, reliance on published reports sometimes results in the beneficial effects of treatments being overestimated and the adverse effects being underestimated. Biased under-reporting of research is a major problem that is far from being solved. It is scientific and ethical malpractice, and wastes research resources.

Be aware of the risk of biased underreporting of fair comparisons, whether or not the authors of systematic reviews have addressed this risk.

Browse by Key Concept

Back to Learning Resources home

Filter these resources:

Clear Filters

The Bias of Language

Publication of research findings in a particular language may be prompted by the nature and direction of the results.

| 0 Comments

Cherry Picking

Cherry-picking results that only support your own conclusion may mean ignoring important evidence that refutes a treatment claim.

| 0 Comments

Forest Plot Trilogy

Synthesising the results of similar but separate fair comparisons (meta-analysis) may help by yielding statistically more reliable estimates

| 0 Comments
Book cover

อะโพรทินิน (Aprotinin) : ผลต่อการเลือดออกระหว่างและหลังการผ่าตัด

ผู้ให้ทุนวิจัย สถาบันวิชาการ นักวิจัย คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย และวารสารทางวิทยาศาสตร์ ล้วนมีส่วนผิดในงานวิจัยที่ไม่จำเป็น (ดูบทที่ 9)ดังที่อธิบายในบทที่ 8 และที่แสดงในตัวอย่างงานวิจัยที่ไม่จำเป็นสองเรื่องข้างต้นงานวิจัยใหม่ควรวางแผน หรือดำเนินการหลังจากประเมินความรู้จากการวิจัยที่มีอยู่อย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ที่น่าตกใจ ซึ่งตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2005 เป็นเรื่องการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมเกี่ยวกับยาชื่ออะโพรทินิน เพื่อลดเลือดออกระหว่างหรือหลังผ่าตัด ยาชนิดนี้ได้ผล แต่ส่วนที่น่าตกใจคือยังมีการทำการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมต่อไป ทั้งที่หลักฐานจำนวนมากพิสูจน์นานแล้วว่ายาลดการให้เลือดลงอย่างเห็นได้ชัด […]

| 0 Comments
Book cover

คำแนะนำให้ผู้เขียนรวมผลการวิจัยเข้ากับความรู้เดิม โดยบรรณาธิการวารสารทางการแพทย์ เดอะแลนเซ็ต

การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ หัวข้อนี้ควรครอบคลุมรายละเอียดว่าผู้เขียนค้นหาหลักฐานทั้งหมดอย่างไร และผู้เขียนควรอธิบายวิธีประเมินคุณภาพของหลักฐานนั้นๆ เช่น เลือกและรวมหลักฐานเข้าด้วยกันอย่างไร การแปลผล ผู้เขียนควรอธิบายในหัวข้อนี้ว่าการศึกษาของตนช่วยให้องค์ความรู้สมบูรณ์ขึ้นอย่างไร เมื่อผนวกเข้ากับงานเรื่องก่อนๆ “รายงานวิจัยทุกชิ้น ไม่ว่าเป็นแบบสุ่มหรือไม่ ที่ยื่นนับจากวันที่ 1 ส.ค. กรุณา…รวมผลเข้ากับองค์ความรู้เดิมในหัวข้ออภิปรายผล” Clark S, Horton R. Putting research […]

| 0 Comments
Book cover

การแพทย์แบบอิงการตลาด

“เอกสารเป็นการภายในจากอุตสาหกรรมยาบ่งบอกว่า หลักฐานที่สาธารณชนเข้าถึงได้อาจไม่แสดงถึงข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อย่างเที่ยงตรง อุตสาหกรรมดังกล่าวและพันธมิตรในบรรษัทสื่อสารการแพทย์กล่าวว่า การตีพิมพ์บทความทางการแพทย์เป็นไปเพื่อประโยชน์ทางการตลาดเป็นหลักการปกปิดและบิดเบือนผลที่เป็นเชิงลบ และการจ้างเขียน (ดูบทที่ 10 หน้า 207) กลายเป็นเครื่องมือช่วยจัดการผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ให้เหมาะแก่การขายผลิตภัณฑ์นั้นๆ ที่สุด ทั้งยังหารายได้จากโรคและแบ่งแพทย์เป็นกลุ่มการตลาด เพื่อรีดผลกำไรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เราจึงอยากชี้ว่าแม้การแพทย์แบบอิงหลักฐานจะเป็นอุดมคติสูงส่ง แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบันคือการแพทย์แบบอิงการตลาด” Spielmans GI, Parry PI. From […]

| 1 Comment
Book cover

การค้นหาหลักฐานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

การค้นหาหลักฐานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ โดยไม่คำนึงถึงภาษา หรือรูปแบบการรายงานนั้นยากเอาเรื่อง ปัญหาสำคัญคือ หลักฐานที่เกี่ยวข้องบางชิ้นไม่ได้รายงานต่อสาธารณะ การรายงานไม่ครบถ้วนมีสาเหตุหลักจากการที่นักวิจัยไม่เขียนหรือส่งรายงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ เนื่องจากผลไม่ได้ดังใจ บริษัทยาปกปิดการศึกษาที่ไม่สนับสนุนผลิตภัณฑ์ของตน ส่วนวารสารก็มักลำเอียงโดยปฏิเสธรายงานที่ส่งเข้ามา เพราะเห็นว่าผลไม่ “น่าตื่นเต้น” พอ [3] การรายงานงานวิจัยไม่ครบถ้วนด้วยความลำเอียงนั้น ผิดทั้งหลักวิทยาศาสตร์และจริยธรรม โดยเป็นที่ยอมรับกันแพร่หลายว่าเป็นปัญหาใหญ่ในปัจจุบัน โดยเฉพาะผู้ที่กำลังใคร่ครวญเลือกวิธีการรักษาอาจจะเข้าใจผิด เพราะมีโอกาสน้อยที่จะมีการรายงานการศึกษาซึ่งได้ผล “ไม่ได้ดังใจ” หรือ […]

| 0 Comments
Book cover

การลดความลำเอียงในการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

เช่นเดียวกับที่ความลำเอียงอาจบิดเบือนการตรวจสอบวิธีการรักษาหนึ่งๆ จนได้ข้อสรุปที่เป็นเท็จ มันยังบิดเบือนการทบทวนวรรณกรรมได้เช่นกัน เช่น นักวิจัยอาจจะ “คัด” การศึกษา “งามๆ” ที่รู้ว่าจะช่วยหนุนคำกล่าวอ้างเกี่ยวกับวิธีการรักษาที่ตนต้องการจะสื่อ เพื่อเลี่ยงปัญหาเหล่านี้ ควรวางแผนการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบไว้เป็นโครงร่างการวิจัย เช่นเดียวกับงานวิจัยเดี่ยวๆ โดยโครงร่างต้องชี้แจงว่านักวิจัยจะใช้วิธีใดลดความลำเอียงและผลจากความบังเอิญ ขณะเตรียมการทบทวนวรรณกรรม รวมถึงระบุว่าการทบทวนจะตอบคำถามใดเกี่ยวกับวิธีการรักษาเกณฑ์การคัดการศึกษาเข้า วิธีค้นหาการศึกษาที่มีแนวโน้มเข้าเกณฑ์ ขั้นตอนการลดความลำเอียงในการคัดการศึกษาเข้า และขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล ถัดไป: การค้นหาหลักฐานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

| 0 Comments
Book cover

แล้วการตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรมคืออะไร

คนส่วนใหญ่ทราบว่ารายงานในสื่อเกี่ยวกับความก้าวหน้าทางการแพทย์ใหม่ๆ ต้องฟังหูไว้หู แต่ความจริงที่น่าเศร้าคือ ต่อให้รายงานวิธีการรักษานั้นลงในวารสารวิชาการที่ดูได้มาตรฐาน เราก็ยังต้องระวัง เพราะมีการบิดเบือนและอวดอ้างเกยวกับวิธีการรักษาอยู่เป็นนิจ การประเมินความน่าเชื่อถือได้จึงเป็นเรื่องสำคัญ เราต้องรับความเสี่ยง 2 ประการ หากเชื่อรายงานผลจากการรักษาโดยไม่กลั่นกรอง คืออาจสรุปผิดว่าวิธีการรักษาที่ได้ผลนั้นไร้ประโยชน์ หรือกระทั่งเป็นอันตราย หรือกลับกัน การตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรมออกแบบเพื่อให้ได้ข้อมูลทเชื่อถือได้ของผลจากวิธีการรักษาต่างๆ โดย (1) เปรียบเทียบสิ่งที่คล้ายกันเพื่อลดสิ่งที่บิดเบือนผล (ความลำเอียง) (2) […]

| 0 Comments
Book cover

ความก้าวหน้าแบบค่อยเป็นค่อยไปไม่ได้เป็นข่าวใหญ่

“ข่าวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ไม่ใช่ข่าวที่ขายได้ ลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์เหมาะจะเป็น ‘รายงานพิเศษในเล่ม’ เพราะปกติวิทยาศาสตร์ไม่ได้พัฒนาเนื่องจากจู่ๆ ก็มีการค้นพบครั้งประวัติการณ์ แต่พัฒนาเพราะหัวข้อและทฤษฎีต่างๆ ค่อยๆ ปรากฏ ชัด โดยใช้หลักฐานอ้างอิงจำนวนมหาศาลจากหลากหลายหลักการมาอธิบายในหลากหลายระดับ แต่สื่อยังคงยึดติดอยู่แต่กับ ‘การค้นพบครั้งประวัติการณ์’” Goldacre B. Bad Science. London: Fourth Estate, 2008, […]

| 0 Comments
Book cover

การให้การรักษาโดยเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรม

ถ้าอย่างนั้น ควรทำอย่างไรเมื่อมีที่สำคัญเกี่ยวกับผลของวิธีการรักษาทั้งใหม่หรือเก่า ซึ่งยังไม่ได้รับการประเมินอย่างเหมาะสม คำตอบที่เห็นชัดคือ ควรทำตามอย่างแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งผู้เขียนกล่าวถึงข้างต้น คือแก้ไขความไม่แน่นอนนั้น โดยใช้วิธีการรักษาที่ยังไม่ได้รับการประเมินอย่างเพียงพอเฉพาะเมื่ออยู่ในงานวิจัย ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อให้ทราบมากขึ้นเกี่ยวกับผลทั้งที่พึงปรารถนาและไม่พึงปรารถนา นักจริยธรรมทางการแพทย์กล่าวไว้ดังนี้ “ถ้าเราไม่แน่ใจข้อดีของวิธีการรักษา (ใดๆ) เราก็ไม่อาจแน่ใจถึงประโยชน์เมื่อใช้แต่ละวิธี เช่น ในการรักษาผู้ป่วยแต่ละราย ดังนั้น การยืนกรานว่าวิธีการรักษานี้ดีหรือไม่ดี ระหว่างงานวิจัยที่มีคุณภาพยังไม่เสร็จสิ้นจึงไม่สมเหตุสมผล ซ้ำยังผิดจริยธรรม คำตอบของคำถามว่า […]

| 0 Comments
Book cover

ยาแก้หัวใจเต้นผิดจังหวะในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน

คำแนะนำของนายแพทย์สป็อกอาจฟังมีเหตุผล แต่เป็นการอ้างอิงทฤษฎีที่ไม่เคยตรวจสอบ ยังมีตัวอย่างของอันตรายจากคำแนะนำในลักษณะนี้อีกมาก เช่น หลังจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ผู้ป่วยบางรายจะมีจังหวะหัวใจผิดปกติ เรียกว่าหัวใจเต้นผิดจังหวะ (arrhythmia) คนกลุ่มนี้ เสี่ยงที่จะเสียชีวิตมากกว่าคนที่ไม่มีอาการ เนื่องจากมียาบางอย่างที่แก้หัวใจเต้นผิดจังหวะได้ การคาดว่ายากลุ่มนี้จะลดความเสี่ยงเสียชีวิตหลังกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันด้วยจึงดูสมเหตุสมผล แต่ที่จริงผลกลับตรงกันข้าม ยาเหล่านี้ได้รับการทดสอบในคนแล้ว แต่ก็เพียงเพื่อดูว่ายา จะลดภาวะจังหวะหัวใจผิดปกติได้หรือไม่ เมื่อนำหลักฐานจากการทดลองจำนวนมากมาทบทวนอย่างเป็นระบบในปีระบบในปี ค.ศ. 1983 กลับไม่มีหลักฐานที่แสดงว่ายาเหล่านี้ลดอัตราการเสียชีวิต […]

| 2 Comments

No Resources Found

Try clearing your filters or selecting different ones.