2-4 Comparison groups should be treated equally

Apart from the treatments being compared, people in the treatment comparison groups should otherwise receive similar care. If, for example, people in one group receive more attention and care than people in the comparison group, differences in outcomes could be due to differences in the amount of attention each group received rather than due to the treatments that are being compared. One way of preventing this is to keep providers unaware (“blind”) of which people have been allocated to which treatment.

Be cautious about relying on the results of treatment comparisons if people in the groups that are being compared were not cared for similarly (apart from the treatments being compared). The results of such comparisons could be misleading.

Browse by Key Concept

Back to Learning Resources home

Filter these resources:

Clear Filters

The placebo effect

A video by NHS Choices explaining what the placebo effect is, and describing its role in medical research and the pharmaceutical industry.

| 0 Comments
Book cover

ผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินแทบไม่ได้รับประโยชน์จากงานวิจัย

“มีการทดลองไม่กี่เรื่องที่เปรียบเทียบทางเลือกต่างๆ หรือการดูแลผู้ป่วยในระยะยาว การศึกษาต่างๆ ทำในระยะสั้นจนไม่น่าเชื่อถือ เมื่อคำนึงถึงว่าโรคนั้นมีแนวโน้มจะเรื้อรังแทบตลอดชีวิต ดูเหมือนสิ่งที่รู้ชัดมีเพียงว่าวิธีการรักษาที่ใช้นั้นดีกว่าไม่ทำอะไรเลย ที่สำคัญนักวิจัยละเลยประสบการณ์ มุมมอง ความต้องการ และ ความพึงพอใจของผู้ป่วย” อาร์ จ็อบลิง ประธานสมาคมโรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis Association) Jobling R. Therapeutic research […]

| 0 Comments
Book cover

ช่วยให้ผู้เข้าร่วมการศึกษาใช้วิธีการรักษาตามที่จัดสรรให้

ในการเปรียบเทียบวิธีการรักษา วิธีที่วางแผนไว้อาจแตกต่างจาก วิธีที่ใช้จริงในหลายรูปแบบ ซึ่งอาจทำให้การแปลผลการตรวจสอบวิธีการ รักษายิ่งซับซ้อน ผู้ที่เข้าร่วมในงานวิจัยไม่ควรถูกกีดกันไม่ให้ได้รับวิธีการรักษาที่จำเป็น เมื่อทำการตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรมเพื่อศึกษาวิธีการรักษาแบบใหม่ที่หวังว่าจะมีประโยชน์แต่ยังไม่ได้พิสูจน์ ควรมีการรับรองกับผู้ป่วยที่เข้าร่วมว่าทุกคนจะได้รับวิธีการรักษาที่ทราบแล้วว่ามีประสิทธิผล หากมีคนรู้ว่าใครจะได้รับอะไรในการศึกษาหนึ่งๆ ก็อาจเกิดความลำเอียงหลายประการ ประการแรกคือ ผู้ป่วยและแพทย์อาจรู้สึกว่าผู้ที่ถูกจัดสรรให้รับวิธีการรักษา “ใหม่” โชคดีจนอาจเสริมแต่งประโยชน์ของวิธีการรักษาเหล่านี้เกินจริงโดยไม่รู้ตัว ตรงกันข้ามผู้ป่วยและแพทย์อาจรู้สึกว่าผู้ที่ถูกจัดสรรให้รับวิธีการรักษาที่ “เก่ากว่า” เสียโอกาส ซึ่งความผิดหวัง นี้อาจทำให้ประเมินผลดีต่ำกว่าที่เป็นจริง นอกจากนี้แพทย์ยังอาจให้การดูแลรักษาเสริมแก่ผู้ป่วยที่ถูกจัดสรรให้รับวิธีการรักษาที่เก่ากว่า […]

| 2 Comments
Book cover

การเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน

การเปรียบเทียบความรู้สึกและผลการรักษาของผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน แต่บังเอิญได้รับการรักษาแตกต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน ยังเป็นวิธีที่ใช้เพื่อประเมินผลของวิธีการรักษา ทว่าแนวทางนี้ก็อาจทำให้เข้าใจผิดโดยสิ้นเชิงเช่นกัน ปัญหาไม่ต่างจากการเปรียบเทียบโดยใช้ “กลุ่มควบคุมในอดีต” คือจะรู้ได้อย่างไรว่าก่อนเริ่มรักษา กลุ่มคนที่ได้รับวิธีการรักษาต่างๆ คล้ายกันจนเปรียบเทียบได้อย่างเที่ยงตรง หรือพูดอีกอย่างคือ สิ่งที่เปรียบเทียบคล้ายคลึงกันจริงหรือเปล่า ในกรณี “กลุ่มควบคุมในอดีต” นักวิจัยอาจใช้การปรับค่าทางสถิติและการวิเคราะห์ เพื่อให้แน่ใจว่าคล้ายคลึงกัน แต่ ก็ทำได้เฉพาะเมื่อมีการบันทึกและพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้วย แต่น้อยครั้งที่เกิดกรณีตรงเงื่อนไขเหล่านี้ การแปลผลการวิเคราะห์จึงต้องใช้ความระมัดระวัง หากหลงเชื่ออาจก่อให้เกิดเหตุสลดครั้งใหญ่ […]

| 0 Comments
Book cover

วิธีการรักษาที่ให้ผลปานกลาง แต่ก็สำคัญ

เนื้อเรื่องย่อย: การเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับวิธีการรักษาอยู่ในขณะนั้นกับผู้ป่วยในอดีตที่คล้ายคลึงกัน แต่ได้รับการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีอื่น การเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน การจัดสรรวิธีการรักษาต่างๆ ตามแผนโดยไม่ลำเอียง รูปแบบต่างๆ ในการใช้การจัดสรรอย่างไม่ลำเอียง (แบบสุ่ม) เพื่อเปรียบเทียบวิธีการรักษา การตามสังเกตทุกคนที่อยู่ในการเปรียบเทียบวิธีการรักษา การจัดการเมื่อมีสิ่งที่ผิดไปจากวิธีการรักษาที่จัดสรรให้ ช่วยให้ผู้เข้าร่วมการศึกษาใช้วิธีการรักษาตามที่จัดสรรให้

| 0 Comments

No Resources Found

Try clearing your filters or selecting different ones.