1-7 Beware of conflicting interests

People with an interest in promoting a treatment (in addition to wanting to help people), such as making money, may promote treatments by exaggerating benefits and ignoring potential harmful effects. Conversely, people may be opposed to a treatment for a range of reasons, such as cultural practices.

Ask if people making claims that a treatment is effective have conflicting interests. If they have conflicting interests, be careful not to be misled by their claims about the effects of treatments.

Browse by Key Concept

Back to Learning Resources home

Filter these resources:

Clear Filters

Know Your Chances

This book has been shown in two randomized trials to improve peoples' understanding of risk in the context of health care choices.

| 0 Comments | Evaluated
Logo

Bias

A University of Massachusetts Medical School text on biases.

| 0 Comments

Weasels Are on the Loose

Weaseling is the use of certain words to weaken a claim, so that the author can say something without actually saying it and avoid criticism

| 0 Comments

Does it work?

People with vested interests may use misleading statistics to support claims about the efects of new treatments.

| 0 Comments

Peer-Review

Even quality control steps, such as peer-review, can be affected by conflicts of interest.

| 0 Comments
Book cover

มีพิรุธ หลอกลวง ต้มตุ๋น

นักวิจัย 2 รายเขียนเรื่องเบาสมองลงในวารสารทางการแพทย์แห่งสหราชอาณาจักร (British Medical Journal) ฉบับฉลองคริสต์มาส โดยอุปโลกน์บริษัทชื่อบริษัทคณิกา จำกัด (มหาชน) ซึ่งให้บริการแก่ผู้ให้ทุนทำการทดลอง ดังนี้ “เรารับรองว่าจะได้ผลเชิงบวกสำหรับผู้ผลิต ซึ่งกำลังหาทางตีตลาดด้วยยาและเครื่องมือแพทย์ที่ไม่น่าเชื่อถือสำหรับกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ ซึ่งอยากให้บริการวินิจฉัยและรักษาพร่ำเพรื่อของตนเป็นที่ต้องการยิ่งขึ้น รวมถึงหน่วยงานทางการแพทย์ท้องถนและระดับชาติ ซึ่งผลักดันนโยบายด้านสุขภาพที่ไม่สมเหตุสมผลเพื่อหาประโยชน์ใส่ตัว…สำหรับยา ‘พ่วงท้าย’ ที่น่าเคลือบแคลง (ทีมพ่วงท้ายได้เสมอ) […]

| 0 Comments
Book cover

แพทย์กับบริษัทยา

“ไม่มีใครรู้ว่าบริษัทยาให้เงินแก่แพทย์รวมเท่าไร แต่ฉันประเมินจากรายงานประจำปีของบริษัทยาสัญชาติอเมริกันรายใหญ่ 9 อันดับแรกว่าน่าจะตกปีละหลายหมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ อุตสาหกรรมยาจึงชี้นำแพทย์ในการประเมินและใช้ผลิตภัณฑ์ของตนได้ สายสัมพันธ์แน่นแฟ้นระหว่างอุตสาหกรรมกับแพทย์ โดยเฉพาะผู้ทรงคุณวุฒิในโรงเรียนแพทย์ชั้นแนวหน้า ส่งผลต่อผลการวิจัย เวชปฏิบัติ และกระทั่งจำกัดความว่าอะไรบ้างที่นับว่าเป็นโรค” Angell M. Drug companies & doctors: a story of corruption. […]

| 0 Comments
Book cover

ใครเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะศึกษาอะไร

เห็นชัดว่าสถานการณ์ดังกล่าวไม่เข้าที แต่เหตุใดจึงเป็นเช่นนี้ เหตุผลหนึ่งคือประเด็นวิจัยมักถูกบิดเบือนโดยปัจจัยภายนอก [22] เช่น อุตสาหกรรมยาทำการวิจัยเพื่อสนองเป้าหมายหลัก คือเพื่อให้ลุล่วงตามภาระหน้าที่ในการทำกำไรที่มีต่อผู้ถือหุ้น ส่วนความรับผิดชอบที่มีต่อผู้ป่วยและแพทย์สำคัญรองลงมา ธุรกิจถูกชักจูงด้วยตลาดขนาดใหญ่ เช่น หญิงที่สงสัยว่าควรใช้วิธีการรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทนหรือไม่ หรือผู้ป่วยที่ซึมเศร้า วิตก กังวล หดหู่ หรือเจ็บปวด ทว่าในช่วงทศวรรษหลังๆ แนวทางแบบเล็งผลทางการค้านี้แทบไม่ได้ทำให้เกิดวิธีการรักษาใหม่ที่สำคัญ แม้แต่ในโรค “ยอดนิยม” […]

| 2 Comments
Book cover

การแพทย์แบบอิงการตลาด

“เอกสารเป็นการภายในจากอุตสาหกรรมยาบ่งบอกว่า หลักฐานที่สาธารณชนเข้าถึงได้อาจไม่แสดงถึงข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อย่างเที่ยงตรง อุตสาหกรรมดังกล่าวและพันธมิตรในบรรษัทสื่อสารการแพทย์กล่าวว่า การตีพิมพ์บทความทางการแพทย์เป็นไปเพื่อประโยชน์ทางการตลาดเป็นหลักการปกปิดและบิดเบือนผลที่เป็นเชิงลบ และการจ้างเขียน (ดูบทที่ 10 หน้า 207) กลายเป็นเครื่องมือช่วยจัดการผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ให้เหมาะแก่การขายผลิตภัณฑ์นั้นๆ ที่สุด ทั้งยังหารายได้จากโรคและแบ่งแพทย์เป็นกลุ่มการตลาด เพื่อรีดผลกำไรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เราจึงอยากชี้ว่าแม้การแพทย์แบบอิงหลักฐานจะเป็นอุดมคติสูงส่ง แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในปัจจุบันคือการแพทย์แบบอิงการตลาด” Spielmans GI, Parry PI. From […]

| 1 Comment
Book cover

คำนึงถึงการตักตวงผลประโยชน์และการบิดเบือนในการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

จะเป็นอย่างไรหากผู้ทบทวนวรรณกรรมมีผลประโยชน์อื่นซึ่งอาจกระทบการดำเนินงานหรือการแปลผล โดยอาจได้รับเงินจากบริษัทผู้พัฒนาวิธีการรักษาใหม่ที่ตรวจสอบอยู่  เมื่อประเมินหลักฐานเรื่องผลจากน้ำมันอีฟนิงพริมโรสต่อผื่นผิวหนังอักเสบผู้ทบทวนวรรณกรรมซึ่งเกี่ยวพันกับผู้ผลิตยาได้ข้อสรุปว่าน้ำมันนี้น่าประทับใจกว่าที่ผู้ไม่มีผลประโยชน์ทางการค้าสรุป (ดูบทที่ 2) แต่การทบทวนที่ลำเอียงไม่ได้เกิดเพราะผลประโยชน์ทางการค้าเท่านั้น แต่ยังเกิดได้จากอคติของทุกคน ทั้งนักวิจัยผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพและผู้ป่วย น่าผิดหวังที่บางครั้งผู้ตักตวงผลประโยชน์ ใช้ความลำเอียงปรับวิธีการรักษาให้ดูดีกว่าที่เป็นจริง. (ดูเพิ่มเติมในบทที่ 10)[8] ซึ่งเกิดเมื่อนักวิจัยบางส่วนจงใจเพิกเฉยหลักฐานที่มี โดยมักเป็นเพราะเหตุผลทางการค้า แต่บ้างก็ด้วยเหตุอื่น พวกเขาออกแบบ วิเคราะห์และรายงานผลจากงานวิจัย โดยตกแต่งผลเกี่ยวกับวิธีการรักษาหนึ่งๆ ให้เป็นด้านบวก นี่คือสิ่งที่เกิดขึ้นในทศวรรษ […]

| 2 Comments
Book cover

เห็นในสิ่งที่เชื่อ

ริชาร์ด แอชเชอร์ แพทย์ชาวสหราชอาณาจักร ตั้งข้อสังเกตใน บทความถึงแพทย์ที่เขาเขียนว่า “ถ้าคุณเชื่อมั่นวิธีการรักษาที่ใช้ ต่อให้การตรวจสอบแบบมีกลุ่มควบคุมแสดงว่าวิธีดังกล่าวแทบไม่มีประโยชน์ คุณก็จะยังได้ผลการรักษาดีกว่า ผู้ป่วยจะอาการดีกว่า และรายได้ของคุณก็จะงามกว่าเช่นกัน ผมคิดว่าความเชื่อคือเหตุให้เพื่อนร่วมวิชาชีพบางคนประสบความสำเร็จท่วมท้นทั้งที่ด้อยความสามารถและหูเบา ทั้งยังเป็นเหตุให้แพทย์ผู้ทันยุคและประสบความสำเร็จตั้งแง่กับสถิติและการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม” Asher R. Talking sense (Lettsomian lecture, 16 Feb, […]

| 0 Comments
Book cover

ปาหี่การคัดกรอง

ในปี ค.ศ. 2009 อาจารย์ด้านประสาทวิทยาเพิ่งเกษียณผู้สนใจ เรื่องการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองมายาวนานทราบว่าเพื่อนบ้านได้รับใบปลิวจากบริษัทที่ให้การคัดกรองด้านระบบหลอดเลือด เชิญชวนให้พวกเขาไปโบสถ์ในแถบนั้น (และจ่ายเงิน 152 ปอนด์ หรือราว 7,000 บาท) เพื่อรับการตรวจโรคหลอดเลือดสมองกับอาการแทรกซ้อนอื่นๆ ทางหัวใจและหลอดเลือด ด้วยความอยากรู้ และที่สำคัญ คือ เพราะข้อมูลในใบปลิวดังกล่าวบิดเบือนข้อเท็จจริง อาจารย์จึงตัดสินใจไปด้วย “การตรวจแรกเป็นการคัดกรองหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง […]

| 0 Comments
Book cover

การปลูกถ่ายไขกระดูก (Bone marrow transplantation)

แต่การลดจำนวนการผ่าตัดอวัยวะ ออกทั้งหมดก็ยังไม่ใช่การปิดฉากแนวคิด “ยิ่งมากยิ่งดี” ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา มีการใช้แนวทางการรักษามะเร็งเต้านมแบบใหม่ด้วยยาเคมีบำบัดปริมาณมาก ตามด้วย การปลูกถ่ายไขกระดูก หรือ “การปลูกถ่ายสเต็มเซลล์” (stem cell rescue) รายงานในนิวยอร์กไทม์ส (New York Times) ในปี ค.ศ. […]

| 0 Comments
Book cover

อะแวนเดีย (Avandia)

ในปี ค.ศ. 2010 โรสิกลิทาโซน (Rosiglitazone) ซึ่งมักรู้จักกันในชื่อการค้าว่าอะแวนเดีย เป็นยาอีกชนิดหนึ่งที่เป็นข่าวโด่งดัง เนื่องจากผลข้างเคียงเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ก่อนหน้านั้น 10 ปี อะแวนเดีย ได้ขึ้นทะเบียนกับหน่วยงานควบคุมยาในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ในฐานะทางเลือกใหม่ในการรักษาโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งมีสาเหตุจากร่างกายผลิตฮอร์โมนอินซูลิน[ง]ไม่เพียงพอ หรือเมื่อเซลล์ในร่างกายไม่ตอบสนองต่ออินซูลิน  และพบได้บ่อยกว่าเบาหวานชนิดที่ 1  ซึ่งร่างกายไม่ผลิตอินซูลินเลยเบาหวานชนิดที่ […]

| 0 Comments
Book cover

ไวออกซ์ (Vioxx)

แม้การกำกับการทดสอบยาจะเข้มงวดขึ้นมาก แต่ต่อให้ทำการทดสอบยาอย่างดีที่สุด ก็ยังรับรองความปลอดภัยไม่ได้สมบูรณ์ ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (Non-Steroidal Anti-Inflammatory Drugs หรือ NSAIDs) เป็นตัวอย่างที่ดีว่าทำไมต้องมีการเฝ้าระวังในเรื่องยา ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์มักใช้แก้ปวดแก้อักเสบในหลายโรค (เช่น ข้ออักเสบ) และใช้ลดไข้ ยาในกลุ่มนี้ “รุ่นแรกๆ” หลายชนิดเป็นยาที่ซื้อใช้เองได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ เช่น แอสไพริน (Aspirin) […]

| 0 Comments

No Resources Found

Try clearing your filters or selecting different ones.