Know Your Chances
This book has been shown in two randomized trials to improve peoples' understanding of risk in the context of health care choices.
| 0 Comments | EvaluatedCalling Bullshit Syllabus
Carl Bergstrom's and Jevin West's nice syllabus for 'Calling Bullshit'.
| 0 CommentsLike a bridge overdiagnosis
James McCormack with another of his brilliant parodies, warning about the dangers of becoming inappropriately labelled as ill.
| 0 CommentsScreen test
Ben Goldacre notes that even if people realize that screening programmes have downsides, people don’t regret being screened.
| 0 CommentsCancer Screening Debate
This blog discusses problems that can be associated with cancer screening, including over-diagnosis and thus (unnecessary) over-treatment.
| 0 CommentsMisconceptions about screening
Screening should not be for everyone or all diseases. It should only be offered when it is likely to do good than harm.
| 0 CommentsScreening – CASP
This module on screening has been designed to help people evaluate screening programmes.
| 0 CommentsMaking Sense of Screening
Screening tests can cause harm. This guide helps you to make sense of claims about screening for health conditions.
| 0 CommentsAnnals Graphic Medicine: How screening is portrayed in the media
A cartoon series addressing the theme "Earlier is not necessarily better".
| 0 CommentsRight to remain anxious
Earlier testing is not always better, and can lead to overdiagnosis, overtreatment and anxiety.
| 0 CommentsDe-awareness day
Earlier testing is not always better, and can lead to overdiagnosis and overtreatment.
| 0 CommentsAlicia
Earlier testing is not always better, and can lead to overdiagnosis and overtreatment.
| 0 CommentsGertrud
Exaggeration and hopes or fears can lead to unrealistic expectations about treatment effects.
| 0 CommentsUnderstanding Overdiagnosis bias
Gilbert Welch’s 14-min video discussing the risks of overdiagnosis bias and screening.
| 0 CommentsUnderstanding lead-time bias
Gilbert Welch’s 10-min video explaining why survival ALWAYS rises following early detection -- even if no one is helped.
| 0 CommentsSignals of overdiagnosis
Gilbert Welch’s 8-min video showing how population screening for disease leads to overdiagnosis.
| 0 CommentsSmart Health Choices: making sense of health advice
The Smart Health Choices e-book explains how to make informed health decisions.
| 0 Commentsใครเป็นเบาหวาน
ถ้าอย่างนั้นเราตัดสินอย่างไรว่าใครเป็นเบาหวาน ตอนผมเรียนแพทย์ ค่าที่เป็นเกณฑ์ของเราเป็นดังนี้ ถ้าระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร (fasting blood sugar) ของใครเกิน 140 ถือว่าคนนั้นเป็น เบาหวาน แต่ในปี ค.ศ. 1997 คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญการวินิจฉัยและจัดกลุ่มเบาหวาน (Expert Committee on the Diagnosis […]
| 0 Commentsจากคนธรรมดากลายเป็นผู้ป่วย
การคัดกรองทำให้คนที่มีผลการทดสอบ “เป็นบวก” กลับกลายเป็นผู้ป่วย การเปลี่ยนสถานะเช่นนี้ต้องไตร่ตรองให้ดีก่อนทำ “ถ้าผู้ป่วยขอความช่วยเหลือจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ แพทย์ก็ ต้องทำสุดความสามารถ และไม่ใช่ความผิดของแพทย์ที่องค์ความรู้ในการรักษามีข้อบกพร่อง แต่ถ้าแพทย์แนะนำให้ทำการคัดกรอง จะเป็นคนละกรณีโดยสิ้นเชิง ผู้เขียนจึงเห็นว่าแพทย์ควรมีหลักฐานแน่ชัดว่า หากคัดกรองจะเปลี่ยนกระบวนการเกิดโรคได้ในคนจำนวนมากที่เข้ารับการคัดกรอง” Cochrane AL, Holland WW. Validation of screening procedures. […]
| 0 Commentsการตรวจพันธุกรรม : บางครั้งมีประโยชน์ แต่หลายคราวเชื่อไม่ได้
เมื่อไม่นานมานี้ “การตรวจพันธุกรรม” ยังใช้เฉพาะกับโรคจากความผิดปกติของยีนเดี่ยว ซึ่งมักเป็นโรคหายาก เช่น โรคกล้ามเนื้อเสื่อมแบบดูเชนน์ (Duchenne muscular dystrophy) ที่ทำให้สูญเสียกล้ามเนื้อ เกิดในเด็ก หรือโรคฮันทิงตัน (Huntington’s disease) ซึ่งเป็นความผิดปกติในระบบประสาทที่ลุกลามไปเรื่อยๆ โดยผู้ป่วยมักเริ่มมีอาการในวัยกลางคน นอกจากนี้ การตรวจพันธุกรรมทั้งใช้วินิจฉัยและใช้คัดกรองคนสุขภาพปกติ ที่ประวัติครอบครัวบ่งว่ามีโอกาสเป็นโรคเหล่านี้สูงกว่าคนทั่วไป เพื่อเป็น […]
| 2 Commentsการคัดกรองมะเร็งปอด : รู้เร็ว แต่ยังไม่เร็วพอหรือเปล่า
การคัดกรองอาจวินิจฉัยโรคได้เร็ว แต่ก็ไม่เร็วพอจะเป็นประโยชน์เสมอไป (ดูภาพ) มะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งปอด แพร่กระจายในร่างกายก่อนที่ผู้ป่วยจะมีอาการ และก่อนที่การตรวจใดๆ จะพบว่ามีมะเร็ง ความพยายามตรวจหามะเร็งปอดโดยใช้การเอกซเรย์ช่องอก (chest x-rays) เป็นตัวอย่างของปัญหานี้ (ดูระยะ B ในภาพ) ในทศวรรษ 1970 การศึกษาขนาดใหญ่หลายครั้งในผู้สูบบุหรี่จัดพบว่า แม้พบมะเร็งตั้งแต่เนิ่นๆ […]
| 0 Commentsการคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก : ผลเสียชัดเจน แต่ประโยชน์ไม่แน่นอน
มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยเป็นอันดับสองในชายทั่วโลก [14] แบ่งกว้างๆ เป็น 2 ชนิด ผู้ป่วยบางรายเป็นชนิดรุนแรง ซึ่งแพร่กระจายเร็ว อัตราการเสียชีวิตจึงสูง แต่ผู้ป่วยจำนวนมากก็เป็นมะเร็งชนิดโตช้า ซึ่งจะไม่ลุกลามจนเป็นอันตรายต่อสุขภาพตลอดชีวิต จะดีที่สุดหากการคัดกรองวินิจฉัยพบมะเร็งชนิดอันตราย ซึ่งหวังว่าจะรักษาได้ และไม่พบมะเร็งชนิดโตช้า เพราะการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากไม่ว่าชนิดใดก็เสี่ยงให้ผลข้างเคียงเลวร้าย เช่น กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ซึ่งเป็นการสูญเสียที่หนักหนา ถ้าเดิมทีมะเร็งไม่ได้ก่อปัญหา […]
| 0 Commentsการคัดกรองมะเร็งเต้านม : เป็นที่ยอมรับแต่ยังมีการถกเถียงกัน
เนื่องจากการคัดกรองมะเร็งเต้านมเป็นระยะๆ ด้วยการตรวจเต้านมโดยการถ่ายภาพรังสี (mammography) ได้รับการยอมรับในหลายประเทศ เราจึงสันนิษฐานว่าคงมีหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่าวิธีนี้มีประโยชน์มากกว่าโทษ ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขชาวอเมริกันเคยกล่าวไว้ในปี ค.ศ. 2010 ว่า “การคัดกรองนี้ได้รับการศึกษาอย่างถี่ถ้วนที่สุดเท่าที่เคยมีมา หญิงกว่า 600,000 รายเข้าร่วมในการทดลองแบบสุ่ม 10 โครงการ ในช่วง 50 ปีมานี้ แต่ละโครงการก็ติดตามพวกเธอนานร่วม 10 […]
| 0 Commentsการคัดกรองโรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองในช่องท้อง (Abdominal aortic aneurysm) : ควรดำเนินการอย่างระมัดระวัง
การคัดกรองหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองในช่องท้องอาจมีประโยชน์ ในกลุ่มผู้สูงวัย หลอดเลือดแดงใหญ่ (aorta) เป็นเส้นเลือดหลักในร่างกายซึ่งเริ่มต้นจากหัวใจผ่านอกและช่องท้อง ในบางคน ผนังหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องจะอ่อนแอลงเมื่ออายุมากขึ้น เส้นเลือดจึงเริ่มขยายออก นี่คือโรคหลอดเลือดโป่งพอง (aneurysm) ซึ่งเป็นภาวะที่ก่อให้เกิดอาการผิดปกติ พบได้บ่อยที่สุดในเพศชายอายุ 65 ปีขึ้นไป สุดท้ายหลอดเลือดที่โป่งพองมากอาจแตกรั่วได้โดยไม่แสดงอาการ จึงมักคร่าชีวิต [8] หลักฐานว่าด้วยความถี่ในการเกิดหลอดเลือดโป่งพองในชายสูงอายุนี้ใช้สนับสนุนการเริ่มทำการคัดกรองได้ เช่น ในสหราชอาณาจักร ชาย […]
| 0 Commentsการคัดกรองโรคฟีนิลคีโตนยูเรีย (Phenylketonuria) : มีประโยชน์ชัดเจน
เด็กเกิดใหม่จะได้รับการคัดกรองหาโรคทางพันธุกรรมที่เรียกว่า ฟีนิลคีโตนยูเรีย หรือ PKU เด็กที่เป็นโรค PKU จะไม่สามารถย่อยฟีนิลอะลานีน (Phenylalanine) ซึ่งเป็นสารที่มีอยู่ในอาหารทั่วไปในชีวิตประจำวัน เช่น นม เนื้อ ปลา และไข่ หากปล่อยไว้โดยไม่รักษา ฟีนิลอะลานีนจะสะสมในกระแสเลือด เป็นผลให้สมองเสียหายร้ายแรงโดยไม่อาจแก้ไขให้กลับคืน การตรวจหาโรค PKU ทำโดยเก็บเลือด […]
| 0 Commentsการเกิดและตรวจสอบข้อสงสัยเกี่ยวกับผลเสียที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา
การเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา บ่อยครั้งที่ผู้ประกอบการวิชาชีพด้านสุขภาพหรือผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มเฉลียวใจเรื่องผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา ทั้งที่ร้ายและดี [10] เนื่องจากการตรวจสอบวิธีการรักษาซึ่งต้องใช้เพื่อขออนุญาตวางจำหน่าย ทำกับคนเพียงไม่กี่ร้อย หรือไม่กี่พันคน และให้วิธีการรักษานานไม่กี่เดือน ในขั้นนี้จึงมักพบ เพียงผลข้างเคียงระยะสั้นและผลข้างเคียงที่พบบ่อย ต้องรอจนมีการใช้วิธีการรักษาดังกล่าวกันแพร่หลายขึ้น เป็นระยะเวลานานขึ้นและในกลุ่มผู้ป่วยที่หลากหลายกว่าที่เข้าร่วมในการตรวจสอบเพื่อขออนุญาต จึงจะพบผลข้างเคียงที่พบได้ยาก หรือที่ใช้เวลากว่าจะแสดงออก ในหลายๆ ประเทศ รวมถึงสหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ สวีเดน เดนมาร์ก […]
| 2 Commentsปาหี่การคัดกรอง
ในปี ค.ศ. 2009 อาจารย์ด้านประสาทวิทยาเพิ่งเกษียณผู้สนใจ เรื่องการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองมายาวนานทราบว่าเพื่อนบ้านได้รับใบปลิวจากบริษัทที่ให้การคัดกรองด้านระบบหลอดเลือด เชิญชวนให้พวกเขาไปโบสถ์ในแถบนั้น (และจ่ายเงิน 152 ปอนด์ หรือราว 7,000 บาท) เพื่อรับการตรวจโรคหลอดเลือดสมองกับอาการแทรกซ้อนอื่นๆ ทางหัวใจและหลอดเลือด ด้วยความอยากรู้ และที่สำคัญ คือ เพราะข้อมูลในใบปลิวดังกล่าวบิดเบือนข้อเท็จจริง อาจารย์จึงตัดสินใจไปด้วย “การตรวจแรกเป็นการคัดกรองหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง […]
| 0 Commentsอย่าเล่นพนันกับพันธุกรรม
“การลงมือโดยมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางพันธุกรรมเพียงตำแหน่งเดียว (หรือแม้แต่ 2-3 ตำแหน่ง) ก็ไม่ต่างจากเล่นโป๊กเกอร์ โดยทุ่มเงินพนันหมดหน้าตัก ทั้งที่เพิ่งเห็นไพ่เพียงใบเดียว คุณไม่รู้ ว่าองค์ประกอบด้านพันธุกรรมจั่วอะไรมาให้คุณ รวมทั้งไม่รู้ว่าสิ่งแวดล้อมจะมีผลอย่างไร นอกจากนั้น แทนที่จะเป็นไพ่ 5 ใบ คุณมียีนถึงกว่า 20,000 ยีน และปัจจัยแวดล้อมอีกหลายพันประการ ผลของยีนอาจถูกหักล้างด้วยผลจากวิถีชีวิต ประวัติครอบครัว […]
| 0 Commentsโฆษณาการคัดกรอง
“การโฆษณาการคัดกรองเป็นเรื่องง่าย แค่กระตุ้นความกลัวด้วยการประโคมความเสี่ยงจนเกินจริง ให้ความหวังด้วยการอวดอ้างแต่ประโยชน์ และไม่เอ่ยถึงผลเสียของการคัดกรอง ถ้าเป็นโรคมะเร็งจะง่ายเป็นพิเศษ เพราะเป็นโรคร้ายแรงที่สุด และเราก็รู้คาถาสะกดจิตกันดีว่า การตรวจพบแต่เนิ่นๆ คือการป้องกันที่ดีที่สุด คนที่สงสัยจะถูกหาว่าเพี้ยน ถ้าคุณเป็นผู้หญิงที่อายุเกิน 35 ปี คุณต้องนัดตรวจเต้านมโดย การถ่ายภาพรังสี เว้นแต่คุณจะยังไม่เห็นว่าการตรวจสำคัญ ในกรณีนี้ คุณต้องตรวจอย่างอื่นด้วยนอกจากเต้านม’ จากโปสเตอร์ในอดีตของสมาคมโรคมะเร็งแห่งสหรัฐอเมริกา (American […]
| 0 Commentsผู้ค้นพบ PSA เปิดอก
“ความนิยมในการตรวจนี้ก่อให้เกิดหายนะซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงลิ่วในการสาธารณสุข นี่เป็นเรื่องที่ผมชินชา ผมค้นพบ PSA ในปี ค.ศ. 1970… ชาวอเมริกันใช้เงินก้อนมหึมาเพื่อตรวจหามะเร็งต่อมลูกหมาก การคัดกรอง PSA ใช้เงินอย่างต่ำ 3,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี โดยส่วนใหญ่เมดิแคร์ (Medicare)[1] และองค์การทหารผ่านศึกเป็นผู้จ่าย มะเร็งต่อมลูกหมากอาจเป็นกระแสในสื่อ แต่ถ้าว่ากันด้วยจำนวน ตลอดชีวิตชายชาวอเมริกันมีโอกาสถูกวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากร้อยละ […]
| 0 Commentsการวินิจฉัยเกินในมะเร็งต่อมลูกหมาก
“มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นตัวอย่างชั้นยอดของการวินิจฉัยเกิน ประเด็นนี้ไม่ได้หมายความว่าการวินิจฉัยโรคได้แต่เนิ่นๆ ไม่ได้ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากรอดชีวิตเลย แต่…เราแทบไม่อาจรู้ล่วงหน้าว่าชายคนไหนจะได้ประโยชน์จากการคัดกรอง และคนไหนจะได้รับการรักษาโดยไม่จำเป็นซึ่งมักมีผลเสียรุนแรง ปัญหาหลัก คือ การคัดกรองและตรวจหามะเร็งต่อมลูกหมากทำให้เราตรวจพบมะเร็งต่อมลูกหมากมากกว่าสมัยก่อน และน่าแปลกที่มะเร็งจำนวนมากนี้จะไม่มีทางเป็นอันตรายต่อชีวิต ในอดีต ชายกลุ่มนี้ไม่มีทางรู้ว่าตัวเองเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก และจะเสียชีวิตเพราะสาเหตุอื่น ขณะที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก ไม่ใช่เสียชีวิตเพราะมะเร็ง การตรวจพบมะเร็งต่อมลูกหมากชนิดโตช้าทำให้มีผู้ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง ต่อมลูกหมากมากกว่าที่เคยมี จึงเรียกว่า ‘วินิจฉัยเกิน’ สิ่งนี้เป็นภาวะหนีเสือปะจระเข้ ซึ่งชายที่คิดเข้ารับการตรวจต้องเผชิญ” […]
| 0 Commentsอย่าทึกทักว่าตรวจพบเร็วแล้วจะดี
‘“การคัดกรองนิวโรบลาสมาเป็นตัวอย่างว่าเราอาจพลาดท่าง่ายๆ โดยทึกทักว่าการคัดกรองเป็นประโยชน์แน่ เพราะวินิจฉัยโรคได้แต่เนิ่นๆ…การศึกษา 2 เรื่องนี้แสดงว่าการคัดกรองนิวโรบลาสโตมาไม่ได้แค่ไร้ประโยชน์ แต่ยังทำให้เกิด ‘การวินิจฉัยเกิน’ เนื่องจากจะตรวจพบเนื้องอกที่ฝ่อได้เองด้วย ทั้ง 2 การศึกษากล่าวถึงเรื่องที่เด็กกลุ่มที่ได้รับการคัดกรองต้องทุกข์ทรมานจากอาการแทรกซ้อนร้ายแรงจากการรักษา…หวังว่าเราจะได้เรื่องนี้เป็นบทเรียนเมื่อมีการพิจารณาดำเนินโครงการคัดกรองอื่นๆ เช่น การคัด กรองมะเร็งต่อมลูกหมาก” Morris JK. Screening for neuroblastoma in […]
| 0 Commentsมีใครปกติบ้างไหม
การเอกซเรย์ด้วยคอมพิวเตอร์ (CT) ทั้งร่างกาย การตรวจ CT ทั้งร่างกายเป็นหนึ่งในการตรวจที่คลินิกเอกชนเสนอให้ทำ เพื่อดูศีรษะ คอ อก ช่องท้อง และเชิงกราน มีการเชิญชวนประชาชนโดยตรง และมักทำโดยไม่ปรึกษาแพทย์หรือสถานพยาบาล มักมีการประชาสัมพันธ์การตรวจทั้งร่างกายว่าเป็นวิธีที่ช่วยให้รู้ทันโรคที่อาจเกิดด้วยแนวคิดว่าถ้าผล “ปกติ” ก็แปลว่าอุ่นใจได้ การตรวจนี้มีค่าใช้จ่ายสูงทั้งยังไม่มีหลักฐานว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพโดยรวมในผู้ที่ไม่มีอาการหรืออาการแสดงของโรค ยิ่งกว่านั้น ปริมาณรังสีที่ผู้รับการตรวจสัมผัสยังสูงถึง 400 […]
| 0 Commentsคัดกรองเพื่ออะไรและทำไมหลักฐานจึงสำคัญ
ตัวอย่างที่ผู้เขียนยกมา แสดงให้เห็นว่าก่อนผลีผลามทำการคัดกรองในวงกว้าง เราควรไตร่ตรองถึงองค์ประกอบหลัก และหวนระลึกถึงเป้าหมายของโครงการคัดกรอง คนที่มีสิทธิ์เข้ารับการคัดกรองไม่เคยมี…หรือไม่เคย รู้ตัวถึง…อาการ หรืออาการแสดง ซึ่งบ่งว่าเป็นโรคที่ตรวจหา ทั้งยังไม่ได้หาทางรักษาโรคดังกล่าว การคัดกรองประชากรบางราย หรือบางกลุ่มจึงเป็นไปเพื่อลดความเสี่ยงในอนาคตที่อาการหนึ่งๆ จะทำให้เสียชีวิต หรือเจ็บป่วยโดยเสนอให้การตรวจเพื่อค้นหาคนที่อาจได้ประโยชน์จากการรักษา [1, 21] การคัดกรองไม่ได้มีเป้าหมายเพียงเพื่อให้วินิจฉัยโรคได้แต่เนิ่นๆ ซึ่งอาจไม่ช่วยใครเลย ซ้ำยังอาจเกิดผลเสียได้ ในรายงานขององค์การอนามัยโลกเมื่อปี ค.ศ. […]
| 3 Commentsบทเรียนจากการคัดกรองโรคนิวโรบลาสโตมา (neuroblastoma)
ประสบการณ์จากการคัดกรองนิวโรบลาสโตมา มะเร็งหายากซึ่งเกิดในเด็กเล็กเป็นหลัก ให้บทเรียนในหลายแง่มุม เนื้องอกชนิดนเกิดที่เซลล์ประสาทในอวัยวะต่างๆ อัตราการรอดชีวิตของเด็กที่ป่วยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น อวัยวะที่เกิดโรค เนื้องอกแพร่กระจายเพียงใดเมื่อตรวจพบ รวมทั้งอายุเด็ก เด็กที่ตรวจพบเมื่ออายุ 1-4 ขวบ ร้อยละ 55 จะรอดชีวิต ได้นานเกิน 5 ปีนับแต่พบมะเร็ง [3] โรคนี้มีคุณสมบัติประหลาดข้อหนึ่งคือ […]
| 2 Commentsบทที่ 4 ลงมือก่อนอาจไม่ดีกว่า
ประเด็นสำคัญ ได้แต่เนิ่นๆ ไม่ได้ทำให้ดีกว่าเสมอไป เพราะบ้างก็ทำให้แย่ลง โครงการควรเริ่มทำโดยมีหลักฐานเรื่องผลที่แน่ชัด การไม่ดำเนินโครงการคัดกรองเลยอาจเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด ผู้ที่ได้รับการเชิญชวนให้เข้ารับการคัดกรองต้องได้ข้อมูลรอบด้าน มักมีการอวดอ้างประโยชน์ของการคัดกรองจนเกินจริง อันตรายของการคัดกรองมักถูกกลบเกลื่อนหรือละเลย จำเป็นต้องมีการสื่อสารที่ดีเกี่ยวกับประโยชน์ อันตราย และความเสี่ยงจากการคัดกรอง ใน 3 บทแรก ผู้เขียนแสดงให้เห็นแล้วว่าเหตุใดวิธีการรักษาที่ไม่ได้ตรวจสอบอย่างเหมาะสมจึงอาจก่อผลเสียใหญ่หลวง ในบทนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงการคัดกรองเพื่อหาอาการแสดงแรกเริ่มของโรค การคัดกรองดูเหมือนมีเหตุผลรองรับหนักแน่น อีกทั้งน่าจะเป็นวิธีที่ดีเยี่ยมในการป้องกันโรคร้ายและรักษาสุขภาพให้แข็งแรง แต่การคัดกรองซึ่งเป็นประโยชน์ในหลายๆ […]
| 2 CommentsNo Resources Found
Try clearing your filters or selecting different ones.
Browse by Key Concept
Back to Learning Resources homeGET-IT Jargon Buster
About GET-IT
GET-IT provides plain language definitions of health research terms