Ebm@school – a curriculum of critical health literacy for secondary school students
A curriculum based on the concept of evidence-based medicine, which consists of six modules.
| 0 Comments | EvaluatedKnow Your Chances
This book has been shown in two randomized trials to improve peoples' understanding of risk in the context of health care choices.
| 0 Comments | EvaluatedMcMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop Resources – Therapy module
McMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop – Therapy module.
| 0 CommentsMcMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop Resources – Systematic review module
McMaster Evidence-Based Clinical Practice Workshop – Systematic review module.
| 0 CommentsYou Can’t Trust What you read about nutrition
Beware of misleading correlations between foods and chance associations with other factors.
| 0 CommentsUnderstanding Health Research: how science media stories work
Understanding Health Research, a tool for making sense of health studies: how science media stories work.
| 0 CommentsJulia Belluz – Lessons from the trenches of evidence-based health journalism at Vox.com
20-minute talk by Julia Belluz on the need to bring the cultures of health journalism and EBM together.
| 0 CommentsAvoiding biased treatment comparisons
Biases in tests of treatments are those factors that can lead to conclusions that are systematically different from the truth.
| 0 CommentsWhy treatment comparisons are essential
Formal comparisons are required to assess treatment effects and to take account of the natural course of health problems.
| 0 CommentsPromising treatments
'Promising' treatments greatly outnumber actual advances in treatment.
| 0 CommentsScience fact or fiction? Making sense of cancer stories
A Cancer Research UK blog, explaining how to assess the quality of health claims about cancer.
| 0 Comments7 words (and more) you shouldn’t use in medical news
A webpage explaining that dramatic effects of medical treatments are very rare.
| 0 CommentsJohn Ioannidis, the scourge of sloppy science
A 8 min podcast interview with John Ioannidis explaining how research claims can be misleading.
| 0 CommentsScience Weekly Podcast – Ben Goldacre
A 1-hour audio interview with Ben Goldacre discussing misleading claims about research.
| 0 CommentsSurgery for the treatment of psychiatric illness: the need to test untested theories
Simon Wessely describes the untested theory of autointoxication, which arose in the 1890s and caused substantial harm to patients.
| 0 Commentsวิธีลบปานสตรอว์เบอร์รีแบบใหม่
บางคราวการค้นพบวิธีรักษาที่เห็นผลเด่นชัดก็เกิดโดยบังเอิญ เช่น ภาวะที่เกิดในทารก ซึ่งเรียกว่า ฮีแมงจิโอมา (Hemangioma) หรือเนื้องอกหลอดเลือด ซึ่งคล้ายกับปานแดงชนิด portwine stains ตรงที่เกิดจากการผิดรูปของหลอดเลือดซึ่งยังเจริญไม่เต็มที่ ในฮีแมงจิโอมาหลอดเลือดขนาดเล็กจะรวมกันเป็นก้อนส่วนใหญ่เกิดบนผิวหนัง โดยมักเป็นที่ศีรษะหรือลำคอ แต่ก็อาจเกิดที่อวัยวะภายใน เช่น ตับ ได้ด้วย รอยที่ผิวหนังชนิดนี้มักเรียกว่าปานสตรอว์เบอร์รี เพราะเป็นสีแดงสดและนูน มักมองไม่เห็น […]
| 0 Commentsจุมพิตของแม่
วิธีการพื้นๆ ก็อาจได้ผลเด่นชัดเช่นกัน บางครั้งเด็กเล็กก็ใส่สิ่งของชิ้นเล็ก เช่น ของเล่นพลาสติก หรือลูกปัด เข้าไปในจมูกของตน แต่มักพ่นลมออกทางจมูกไล่สิ่งแปลกปลอมไม่ได้ วิธี “จุมพิตของแม่” เพื่อไล่สิ่งที่ติดคานั้นเรียบง่าย แต่ได้ผลดีมากโดยให้พ่อหรือแม่ปิดจมูกข้างที่ไม่มีอะไรติดคาอยู่ พร้อมกับเป่าลมเข้าปากเด็ก [2], [6]. ถัดไป: วิธีลบปานสตรอว์เบอร์รีแบบใหม่
| 0 Commentsอิมาทินิบ (Imatinib) ในการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรัง ชนิดมัยอีลอยด์ (Chronic myeloid leukemia)
ผู้ป่วยที่ได้รับยาอิมาทินิบเพื่อรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดมัยอีลอยด์ก็ได้ผลการรักษาน่าชื่นใจเช่นกัน [4], [5]. ก่อนจะเริ่มนำอิมาทินิบมาใช้ในช่วงปลายทศวรรษ 1990 มะเร็งเม็ด เลือดขาวชนิดนี้แทบไม่ตอบสนองต่อวิธีการรักษาที่ใช้กันเป็นมาตรฐาน ทว่าเมื่อลองใช้ยาใหม่ชนิดนี้ โดยเริ่มในผู้ป่วยกลุ่มที่ไม่ตอบสนองต่อวิธีการรักษามาตรฐาน อาการโดยรวมของผู้ป่วยกลับดีขึ้นผิดหูผิดตา อิมาทินิบทำให้โรคสงบ ทั้งยังปรากฏว่าช่วยยืดอายุขัยของผู้ป่วยได้พอสมควรเมื่อเทียบกับช่วงก่อนมีอิมาทินิบ อาการข้างเคียงส่วนใหญ่ก็ไม่รุนแรง ปัจจุบันจึงใช้ อิมาทินิบเป็นวิธีการรักษาอย่างแรก ถัดไป: จุมพิตของแม่
| 0 Commentsการลบปานแดงแบบ Portwine stains ด้วยเลเซอร์
ปานแบบเป็นปื้นแดงแต่กำเนิดนี้มีสาเหตุจากเส้นเลือดใต้ผิวหนัง ขยายตัวผิดรูปถาวร มักเกิดบนใบหน้า และจะไม่จางหายไปเอง ทั้งยังสีเข้มขึ้นเมื่อเด็กเติบโตจนอาจเสียโฉม ที่ผ่านมามีการลองใช้วิธีการรักษาสารพัด เช่น ทำให้เย็นจัด[ณ] ผ่าตัด และฉายรังสี แต่พบว่าไม่ค่อยได้ผล ทั้งยังมีอาการข้างเคียงหลายประการ แต่การเริ่มใช้วิธีการรักษาด้วยเลเซอร์ ให้ผลน่าประทับใจ เพราะมักเห็นผลในปานชนิดนี้เกือบทุกรูปแบบหลังจากเลเซอร์เพียงครั้งเดียว และแผลที่ผิวหนังโดยรอบซึ่งเกิดจากความร้อนจากเลเซอร์กระจายออก ก็จะหายในเวลาไม่นาน[2], [3] [ณ] cryosurgery […]
| 0 Commentsเข้าใจผิดว่าอะไรคือสิ่งที่รักษา
“เขายืนกรานกันว่ามีหลักฐานว่ายาสูบแก้โรคน้ำหนีบได้ในนักดำน้ำและผู้คนมากหลาย ทั้งยังมิเป็นอันตรายต่อผู้ใด ความเห็นดังนี้ นอกจากจะสำคัญผิดใหญ่หลวง ยังหาสาระมิได้ ผู้ป่วยใช้ยาสูบยาม อาการทรุดหนัก กาลต่อมาความป่วยไข้ก็บรรเทาลงตามธรรมชาติ ผู้นั้นจึงหายดี จึงเห็นว่าเช่นนั้นแล้ว เป็นยาสูบแน่ที่สร้างปาฏิหาริย์” James Stuart, King of Great Britaine, France and Ireland. […]
| 0 Commentsการเกิดและตรวจสอบข้อสงสัยเกี่ยวกับผลเสียที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา
การเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา บ่อยครั้งที่ผู้ประกอบการวิชาชีพด้านสุขภาพหรือผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มเฉลียวใจเรื่องผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา ทั้งที่ร้ายและดี [10] เนื่องจากการตรวจสอบวิธีการรักษาซึ่งต้องใช้เพื่อขออนุญาตวางจำหน่าย ทำกับคนเพียงไม่กี่ร้อย หรือไม่กี่พันคน และให้วิธีการรักษานานไม่กี่เดือน ในขั้นนี้จึงมักพบ เพียงผลข้างเคียงระยะสั้นและผลข้างเคียงที่พบบ่อย ต้องรอจนมีการใช้วิธีการรักษาดังกล่าวกันแพร่หลายขึ้น เป็นระยะเวลานานขึ้นและในกลุ่มผู้ป่วยที่หลากหลายกว่าที่เข้าร่วมในการตรวจสอบเพื่อขออนุญาต จึงจะพบผลข้างเคียงที่พบได้ยาก หรือที่ใช้เวลากว่าจะแสดงออก ในหลายๆ ประเทศ รวมถึงสหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ สวีเดน เดนมาร์ก […]
| 2 Commentsวิธีการรักษาที่เห็นผลเด่นชัด
บางครั้งผู้ป่วยก็ตอบสนองต่อวิธีการรักษาต่างจากที่เคยตอบสนองในอดีต และจากธรรมชาติของโรคนั้นๆ อย่างเด่นชัดจนชี้ขาดผลการรักษา ได้โดยไม่ต้องตรวจสอบให้ถี่ถ้วน (ดูบทที่ 5) [3] ในผู้ป่วยโรคโพรงเยื่อหุ้มปอดมีอากาศ (pneumothorax) การแทงเข็มเข้าในช่องอกเพื่อระบายอากาศที่คั่งค้างออกทำให้อาการดีขึ้นทันตาเห็น ประโยชน์ของวิธีการรักษานี้จึงชัดเจน ตัวอย่างอื่นๆ ของผลที่เด่นชัด ได้แก่ มอร์ฟีนระงับปวด อินซูลินแก้ภาวะโคม่าเนื่องจากเบาหวาน และข้อสะโพกเทียมรักษาอาการปวดเนื่องจากข้ออักเสบ เป็นต้น ผลเสียจากการรักษาก็อาจเด่นชัด เช่นกัน […]
| 2 Commentsความก้าวหน้าแบบค่อยเป็นค่อยไปไม่ได้เป็นข่าวใหญ่
“ข่าวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ไม่ใช่ข่าวที่ขายได้ ลักษณะเฉพาะของวิทยาศาสตร์เหมาะจะเป็น ‘รายงานพิเศษในเล่ม’ เพราะปกติวิทยาศาสตร์ไม่ได้พัฒนาเนื่องจากจู่ๆ ก็มีการค้นพบครั้งประวัติการณ์ แต่พัฒนาเพราะหัวข้อและทฤษฎีต่างๆ ค่อยๆ ปรากฏ ชัด โดยใช้หลักฐานอ้างอิงจำนวนมหาศาลจากหลากหลายหลักการมาอธิบายในหลากหลายระดับ แต่สื่อยังคงยึดติดอยู่แต่กับ ‘การค้นพบครั้งประวัติการณ์’” Goldacre B. Bad Science. London: Fourth Estate, 2008, […]
| 0 Commentsผลการรักษาระดับปานกลาง : พบบ่อยและไม่เด่นชัด
วิธีการรักษาส่วนใหญ่มักให้ผลไม่เด่นชัด จึงต้องมีการตรวจสอบ อย่างเที่ยงธรรมเพื่อประเมินวิธีเหล่านี้ และบางครั้งวิธีหนึ่งๆ อาจให้ผลเด่น ชัดในบางกรณีเท่านั้น แม้วิตามินบี 12 จะรักษา โรคโลหิตจางจากการขาดวิตามินบี 12 หายขาดได้แน่นอน (ดูข้างต้น) แต่ก็ยังมีการถกเถียงกันจนทุกวันนี้ว่าผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาทุก 3 เดือน หรือว่าบ่อยกว่านั้น การจะตอบคำถามดังกล่าวได้ ต้องมีการทดลองเพื่อเปรียบเทียบทางเลือกต่างๆ โดยควบคุมอย่างรัดกุม ขณะที่การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกขจัดความเจ็บปวดได้เป็นปลิดทิ้ง […]
| 3 Commentsผลการรักษาที่เด่นชัด : หาได้ยาก แต่สังเกตได้ง่าย
น้อยครั้งที่มีหลักฐานว่าวิธีการรักษานั้นได้ผลชัดแจ้งจนไร้ข้อกังขา [2]. ในกรณีเช่นนี้ การรักษามักเห็นผลทันทีและเด่นชัด เช่น กรณีโรคหัวใจ เต้นผิดจังหวะที่เรียกกันว่าหัวใจห้องล่างสั่นพลิ้ว (ventricular fibrillation) ซึ่งจังหวะหดตัวกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่าง (ventricle) เกิดปั่นป่วน นี่เป็น ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ เพราะอาจคร่าชีวิตภายในไม่กี่นาที จึงมีการใช้ไฟฟ้ากระแสตรงจากเครื่องที่หน้าอกในการ “กระตุก” หัวใจ เพื่อให้จังหวะกลับเป็นปกติ ซึ่งหากสำเร็จจะเห็นผลในพริบตา […]
| 2 Commentsบทที่ 5 ทำอย่างไรเมื่อผลการรักษาไม่แน่นอน
ประเด็นสำคัญ น้อยครั้งที่พบจาก เรื่องผลของพบได้ดาษดื่น เป็นเรื่องปกติที่ผลของวิธีการรักษาแต่ละวิธีแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย การตรวจจับความแตกต่างนี้ได้ถูกต้องจึงมีความสำคัญ ต้องดำเนินการขั้นตอนต่างๆ เพื่อลดความไม่แน่นอน หากไม่มีใครรู้ชัดในประเด็นสำคัญเรื่องผลของวิธีการรักษาหนึ่งๆ การช่วยให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมในการลดความไม่แน่นอนเรื่องผลของวิธีการรักษาต่างๆ ทำได้มากกว่าที่เป็นอยู่อีกมาก ในบทนเราจะกล่าวถึงความไม่แน่นอนในแทบทุกผลทกล่าวอ้างของ วิธีการรักษาทั้งใหม่และเก่า เช่น อาจมีผู้กังขาเรื่องการให้ออกซิเจนเสริมใน ผู้ที่กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ซึ่งไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ว่ามีประโยชน์ แต่มีหลักฐานว่าเป็นอันตราย ความไม่แน่นอนนี้ยังไม่ได้รับการแก้ไขอย่าง เหมาะสม [1] […]
| 1 CommentNo Resources Found
Try clearing your filters or selecting different ones.
Browse by Key Concept
Back to Learning Resources homeGET-IT Jargon Buster
About GET-IT
GET-IT provides plain language definitions of health research terms