1-11 Explanations about how treatments work can be wrong

Treatments that should work in theory often do not work in practice, or may turn out to be harmful. An explanation of how or why a treatment might work does not prove that it works or that it is safe.

Do not assume that claims about the effects of treatments based on an explanation of how they might work are correct if the treatments have not been assessed in systematic reviews of fair comparisons of treatments.

Browse by Key Concept

Back to Learning Resources home

Filter these resources:

Clear Filters

Know Your Chances

This book has been shown in two randomized trials to improve peoples' understanding of risk in the context of health care choices.

| 0 Comments | Evaluated

Sunn Skepsis

Denne portalen er ment å gi deg som pasient råd om kvalitetskriterier for helseinformasjon og tilgang til forskningsbasert informasjon.

| 0 Comments
Book cover

แค่หายีนนั้นให้พบ

“เป็นที่…คาดหวังว่าการปฏิวัติทางพันธุกรรม (genetic revolution) จะแก้ปัญหาของมนุษย์ได้ทุกประการ เราจะสามารถหาตำแหน่งและคัดลอกยีนที่เป็นเหตุให้เราสร้างบ้านเรือนที่ดีขึ้น ขจัดมลพิษ ยืนหยัดต้านทานมะเร็งได้ ลงทุนเพื่อสถานดูแลเด็กให้ประชาชนทุกคนได้ใช้ ตกลงกันได้เรื่องที่ตั้งและออกแบบสนามกีฬาแห่งชาติ อีกไม่นานทารกทุกคนจะเกิดมาโดยมีกรรมพันธุ์ทัดเทียมกัน เช่น เราจะค้นหาและลบยีนที่ทำให้เด็กผู้หญิงสอบวัดระดับมัธยมปลายได้ดีกว่าเด็กผู้ชาย พันธุศาสตร์มีความเป็นไปได้ไร้ขีดจำกัด…ดังนั้น จริงอยู่ที่เรากำลังเข้าสู่โลกที่ไม่แน่นอน แต่ก็เป็นโลกที่มีความหวัง หากเรื่องพันธุกรรมก่อให้เกิดประเด็นร้ายแรงทางศีลธรรม เราจะแยกยีนที่แก้ปัญหานั้นจนได้” Iannucci A. The […]

| 0 Comments
Book cover

ประโยชน์ของการมองโลกแง่ดีและความคาดหวัง

ปัจจุบันเราเข้าใจชัดขึ้นเกี่ยวกับเหตุผลด้านจิตวิทยาที่ทำให้คนเราโยงว่าอาการของตนกระเตื้องขึ้นเพราะวิธีการรักษาที่ได้รับ ทุกคนมักจะทึกทักว่าถ้าสองเหตุการณ์เกิดขึ้นต่อเนื่องกัน เหตุการณ์แรกอาจเป็น เหตุให้เกิดเหตุการณ์ที่สอง เราจะเริ่มพบแบบแผนซึ่งไม่มีอยู่จริง อันเป็นปรากฏการณ์ที่พบได้บ่อยในหลากหลายสาขา เช่น การโยนเหรียญ ราคาหุ้น และการโยนลูกบาสเกตบอลลงห่วง ทั้งยังมีแนวโน้มจะมีปัญหาที่เรียกว่าความลำเอียงเพื่อยืนยันความคิดตัวเอง (confirmation bias) คือเราจะมองเห็นแต่สิ่งที่คิดว่าจะเห็น หรือ “เห็นในสิ่งที่เชื่อ” การพบสิ่งที่ยืนยันความเชื่อจะเสริมความมั่นใจว่าเราคิดถูก ตรงกันข้าม เราอาจไม่รับรู้ หรือไม่ยอมรับข้อมูลที่ขัดกับความคิดของเรา […]

| 2 Comments
Book cover

ไม่แปลกที่เธอสับสน

ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2004 ผู้ป่วยที่ผ่านการตัดมดลูกเขียนจดหมายหา เดอะแลนเซ็ต (The Lancet)[1] ว่า “เมื่อปี ค.ศ. 1986 ฉันต้องตัดมดลูกเนื่องจากมีเนื้องอกศัลยแพทย์ตัดรังไข่ออกด้วย รวมทั้งพบว่าฉันมีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis) เมื่อเข้าสู่ภาวะหมดประจำเดือนกะทันหัน ทั้งๆ ที่ตอนนั้นอายุเพียง 45 ปี ฉันจึงได้รับการรักษาด้วย […]

| 0 Comments

No Resources Found

Try clearing your filters or selecting different ones.