Policy: twenty tips for interpreting scientific claims
This list will help non-scientists to interrogate advisers and to grasp the limitations of evidence.
| 0 CommentsIt’s just a phase
A resource explaining the differences between different trial phases.
| 0 CommentsHow do you regulate Wu?
Ben Goldacre finds that students of Chinese medicine are taught (on a science degree) that the spleen is “the root of post-heaven essence”.
| 0 CommentsScience is about embracing your knockers
Ben Goldacre: “I don’t trust claims without evidence, especially not unlikely ones about a magic cream that makes your breasts expand.”
| 0 CommentsInteractive PowerPoint Presentation about Clinical Trials
An interactive Powerpoint presentation for people thinking about participating in a clinical trial or interested in learning about them.
| 0 CommentsThousand dollar placebo
People with vested interests may take advantage of peoples' fears or hopes..
| 0 CommentsPromising treatments
'Promising' treatments greatly outnumber actual advances in treatment.
| 0 CommentsGertrud
Exaggeration and hopes or fears can lead to unrealistic expectations about treatment effects.
| 0 CommentsJohn Ioannidis, the scourge of sloppy science
A 8 min podcast interview with John Ioannidis explaining how research claims can be misleading.
| 0 CommentsSmart Health Choices: making sense of health advice
The Smart Health Choices e-book explains how to make informed health decisions.
| 0 CommentsSurgery for the treatment of psychiatric illness: the need to test untested theories
Simon Wessely describes the untested theory of autointoxication, which arose in the 1890s and caused substantial harm to patients.
| 0 CommentsThe placebo effect
A video by NHS Choices explaining what the placebo effect is, and describing its role in medical research and the pharmaceutical industry.
| 0 CommentsTherapeutic Touch: a schoolgirl shows how to test it
This 5-minute video provides an example of applying scientific method to dodgy treatment claims.
| 3 Commentsเมื่อโดนดึงเข้าไปในวังวน
ปี ค.ศ. 2006 ผู้ป่วยคนหนึ่งในสหราชอาณาจักร ซึ่งผ่านการฝึกอบรมด้านการแพทย์มา เผลอตามกระแสเฮอเซปตินไปด้วย เมื่อเธอถูกวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมแบบมี HER2 ในปีก่อนหน้านั้น “ก่อนจะมีการวินิจฉัย ฉันก็เหมือนผู้ป่วยอีกจำนวนมากที่ไม่ค่อยรู้เรื่องการรักษามะเร็งเต้านมในยุคนี้ เลยต้องพึ่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ตอนนั้นเว็บไซต์เบรสต์แคนเซอร์แคร์ (Breast Cancer Care) หรือการดูแลมะเร็งเต้านม กำลังรณรงค์ให้ผู้หญิงที่มี HER2 ทุกคนได้ใช้เฮอเซปติน […]
| 0 Commentsยาปฏิชีวนะในการคลอดก่อนกำหนด
เมื่อตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรม อาจพบว่าวิธีการรักษาที่หวังว่าจะให้ผลดีและคิดว่าไม่เป็นอันตราย ให้ผลเป็นตรงข้าม แพทย์สั่งใช้วิธีการรักษาต่างๆ ด้วยเจตนาดี โดยเฉพาะหากวิธีการรักษาเหล่านั้นให้ความหวังได้ในยามอับจน เช่น มีทฤษฎีกล่าวว่าการติดเชื้อที่ “ไม่แสดงอาการ” อาจกระตุ้นให้เจ็บครรภ์และคลอดก่อนกำหนด แพทย์จึงส่งใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงมีครรภ์บางรายโดยหวังว่าจะช่วยยืดอายุครรภ์ได้ ไม่มีใครคิดจริงจังว่าการ ใช้ยาปฏิชีวนะในลักษณะนี้จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรง อันที่จริง ยังมีหลัก ฐานว่าหญิงมีครรภ์อยากใช้ยาปฏิชีวนะเอง ด้วยวิธีคิดแบบ “ลองดูคงไม่เสียหาย” เมื่อมีการตรวจสอบวิธีการรักษานี้อย่างเที่ยงธรรมในที่สุด ผลที่ได้ก็สร้างความกระจ่าง […]
| 0 Commentsโฆษณาการคัดกรอง
“การโฆษณาการคัดกรองเป็นเรื่องง่าย แค่กระตุ้นความกลัวด้วยการประโคมความเสี่ยงจนเกินจริง ให้ความหวังด้วยการอวดอ้างแต่ประโยชน์ และไม่เอ่ยถึงผลเสียของการคัดกรอง ถ้าเป็นโรคมะเร็งจะง่ายเป็นพิเศษ เพราะเป็นโรคร้ายแรงที่สุด และเราก็รู้คาถาสะกดจิตกันดีว่า การตรวจพบแต่เนิ่นๆ คือการป้องกันที่ดีที่สุด คนที่สงสัยจะถูกหาว่าเพี้ยน ถ้าคุณเป็นผู้หญิงที่อายุเกิน 35 ปี คุณต้องนัดตรวจเต้านมโดย การถ่ายภาพรังสี เว้นแต่คุณจะยังไม่เห็นว่าการตรวจสำคัญ ในกรณีนี้ คุณต้องตรวจอย่างอื่นด้วยนอกจากเต้านม’ จากโปสเตอร์ในอดีตของสมาคมโรคมะเร็งแห่งสหรัฐอเมริกา (American […]
| 0 Commentsความยากลำบากในการได้หลักฐานที่ไม่มีอคติ
นักวิจัยเคยคาดไว้ว่าจะใช้เวลาราว 3 ปีเชิญหญิง 1,000 คนเข้าร่วมในการศึกษา 2 โครงการ แต่กลับใช้เวลาถึง 7 ปี…ซึ่งไม่น่าแปลกใจ…ผู้ป่วยในการทดลองต้องเซ็นใบยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ซึ่งใบ ยินยอมจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับการพยากรณ์โรคร้ายที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งระบุว่ายังไม่มีหลักฐานว่าการปลูกถ่ายไขกระดูกให้ผลดีกว่าวิธีการรักษามาตรฐาน ก่อนจะเข้าร่วมการทดลองผู้ป่วยต้องยอมรับความจริงเหล่านี้ ซึ่งไม่ง่ายเลย แต่ถ้าผู้ป่วยเลือกรับการปลูกถ่าย ไขกระดูกนอกการทดลองแบบสุ่มซึ่งมีกลุ่มควบคุม แพทย์ผู้กระตือรือร้นอาจบอกผู้ป่วยว่าการปลูกถ่ายไขกระดูกช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แม้ผู้ป่วยจะมีสิทธิ์รู้ความจริง แต่ก็ไม่แปลกหากพวกเธออยากไปหาแพทย์ที่ให้ความหวัง […]
| 0 Commentsการปลูกถ่ายไขกระดูก (Bone marrow transplantation)
แต่การลดจำนวนการผ่าตัดอวัยวะ ออกทั้งหมดก็ยังไม่ใช่การปิดฉากแนวคิด “ยิ่งมากยิ่งดี” ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา มีการใช้แนวทางการรักษามะเร็งเต้านมแบบใหม่ด้วยยาเคมีบำบัดปริมาณมาก ตามด้วย การปลูกถ่ายไขกระดูก หรือ “การปลูกถ่ายสเต็มเซลล์” (stem cell rescue) รายงานในนิวยอร์กไทม์ส (New York Times) ในปี ค.ศ. […]
| 0 Commentsน้ำมันอีฟนิงพริมโรสแก้ผื่นผิวหนังอักเสบ (Evening Primrose Oil for Eczema)
แม้การขาดการประเมินอย่างเหมาะสมจะไม่ได้คร่าชีวิต หรือเกิดอันตราย แต่ก็ทำให้เสียเงินเปล่า ผื่นผิวหนังอักเสบเป็นปัญหาผิวหนังที่ สร้างความรำคาญทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ รอยโรคที่ผิวหนังทั้งไม่น่ามองและคันคะเยอ แม้การใช้ครีมสเตียรอยด์จะช่วยได้ แต่ก็ต้องห่วงเรื่องผลข้างเคียง เช่น ทำให้ผิวบางลง ตอนต้นทศวรรษ 1980 มีสารสกัดธรรมชาติของน้ำมันที่ได้จากพืชคือ น้ำมันอีฟนิงพริมโรส ที่เปิด ตัวในฐานะทางเลือกหนี่งที่ได้ผลโดยมีผลข้างเคียงน้อย [11] น้ำมันอีฟนิงพริมโรสประกอบด้วยกรดไขมันจำเป็นเรียกว่ากรดแกมมาไลโนเลนิก (gamma-linolenic acid […]
| 0 Commentsยาแก้หัวใจเต้นผิดจังหวะในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
คำแนะนำของนายแพทย์สป็อกอาจฟังมีเหตุผล แต่เป็นการอ้างอิงทฤษฎีที่ไม่เคยตรวจสอบ ยังมีตัวอย่างของอันตรายจากคำแนะนำในลักษณะนี้อีกมาก เช่น หลังจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ผู้ป่วยบางรายจะมีจังหวะหัวใจผิดปกติ เรียกว่าหัวใจเต้นผิดจังหวะ (arrhythmia) คนกลุ่มนี้ เสี่ยงที่จะเสียชีวิตมากกว่าคนที่ไม่มีอาการ เนื่องจากมียาบางอย่างที่แก้หัวใจเต้นผิดจังหวะได้ การคาดว่ายากลุ่มนี้จะลดความเสี่ยงเสียชีวิตหลังกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันด้วยจึงดูสมเหตุสมผล แต่ที่จริงผลกลับตรงกันข้าม ยาเหล่านี้ได้รับการทดสอบในคนแล้ว แต่ก็เพียงเพื่อดูว่ายา จะลดภาวะจังหวะหัวใจผิดปกติได้หรือไม่ เมื่อนำหลักฐานจากการทดลองจำนวนมากมาทบทวนอย่างเป็นระบบในปีระบบในปี ค.ศ. 1983 กลับไม่มีหลักฐานที่แสดงว่ายาเหล่านี้ลดอัตราการเสียชีวิต […]
| 2 CommentsNo Resources Found
Try clearing your filters or selecting different ones.
Browse by Key Concept
Back to Learning Resources homeGET-IT Jargon Buster
About GET-IT
GET-IT provides plain language definitions of health research terms