2-2 Comparison groups should be similar

If people in the treatment comparison groups differ in ways other than the treatments being compared, the apparent effects of the treatments might reflect those differences rather than actual treatment effects. Differences in the characteristics of the people in the comparison groups might result in estimates of treatment effects that appear either larger or smaller than they actually are. A method such as allocating people to different treatments by assigning them random numbers (the equivalent of flipping a coin) is the best way to ensure that the groups being compared are similar in terms of both measured and unmeasured characteristics.

Be cautious about relying on the results of non-randomized treatment comparisons (for example, if the people being compared chose which treatment they received). Be particularly cautious when you cannot be confident that the characteristics of the comparison groups were similar. If people were not randomly allocated to treatment comparison groups, ask if there were important differences between the groups that might have resulted in the estimates of treatment effects appearing either larger or smaller than they actually are.

Browse by Key Concept

Back to Learning Resources home

Filter these resources:

Clear Filters

Know Your Chances

This book has been shown in two randomized trials to improve peoples' understanding of risk in the context of health care choices.

| 0 Comments | Evaluated

The DIY evaluation guide

The Educational Endowment Foundation’s DIY Evaluation Guide for teachers introduces the key principles of educational evaluation.

| 0 Comments

Sunn Skepsis

Denne portalen er ment å gi deg som pasient råd om kvalitetskriterier for helseinformasjon og tilgang til forskningsbasert informasjon.

| 0 Comments

How Science Works

Definitions of terms that students have to know for 'How Science Works' and associated coursework, ISAs, etc

| 0 Comments

CEBM – Study Designs

A short article explaining the relative strengths and weaknesses of different types of study design for assessing treatment effects.

| 0 Comments

Mega-trials

In this 5 min audio resource, Neeraj Bhala discusses systematic reviews and the impact of mega-trials.

| 0 Comments
Book cover

ผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินแทบไม่ได้รับประโยชน์จากงานวิจัย

“มีการทดลองไม่กี่เรื่องที่เปรียบเทียบทางเลือกต่างๆ หรือการดูแลผู้ป่วยในระยะยาว การศึกษาต่างๆ ทำในระยะสั้นจนไม่น่าเชื่อถือ เมื่อคำนึงถึงว่าโรคนั้นมีแนวโน้มจะเรื้อรังแทบตลอดชีวิต ดูเหมือนสิ่งที่รู้ชัดมีเพียงว่าวิธีการรักษาที่ใช้นั้นดีกว่าไม่ทำอะไรเลย ที่สำคัญนักวิจัยละเลยประสบการณ์ มุมมอง ความต้องการ และ ความพึงพอใจของผู้ป่วย” อาร์ จ็อบลิง ประธานสมาคมโรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis Association) Jobling R. Therapeutic research […]

| 0 Comments
Book cover

โรคทางจิตเวช

น่าเสียดายที่บางครั้งงานวิจัยก็ขาดคุณภาพ หรือไม่ตรงประเด็น ดังตัวอย่างในอาการที่ทรมาน เรียกว่ากลุ่มอาการเคลื่อนไหวผิดปกติจากยา (tardive dyskinesia) ซึ่งเป็นผลข้างเคียงรุนแรงจากการใช้ยาต้านอาการทางจิต (antipsychotic) เป็นเวลานานเพื่อรักษาโรคทางจิตเวช โดยเฉพาะโรคจิตเภท อาการเด่นที่สุดคือ การที่ปากและใบหน้าขยับเองซ้ำๆ ทั้งหน้า บูดเบี้ยว เลียปาก แลบลิ้นบ่อยๆ และดูดกระพุ้งแก้ม หรือทำแก้มพอง โดยอาจมีมือเท้ากระตุกร่วมด้วย ผู้ป่วย […]

| 0 Comments
Book cover

โลกในฝัน

“โลกในฝัน เราสามารถเก็บข้อมูลผลการรักษาโดยไม่ระบุตัวตนและเปรียบเทียบกับประวัติการรักษาได้เต็มที่ เว้นแต่ในผู้ที่ห่วงความเป็นส่วนตัวมากกว่าชีวิตผู้อื่น…หากผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาแต่ยังไม่แน่นอนจริงๆ ว่าวิธีใดดีที่สุด ผู้ป่วยจะถูกสุ่มอย่างเรียบง่ายและมีประสิทธิภาพให้รับวิธีการรักษาหนึ่ง พร้อมติดตามการเปลี่ยนแปลง โลกในฝัน แนวคิดเช่นนี้จะผสานเป็นหนึ่งเดียวกับแนวคิดเรื่องการดูแลสุขภาพของเราจนผู้ป่วยเห็นเป็นเรื่องธรรมดา” Goldacre B. Pharmaco-epidemiology would be fascinating enough even if society didn’t manage […]

| 0 Comments
Book cover

การเกิดและตรวจสอบข้อสงสัยเกี่ยวกับผลเสียที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา

การเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา บ่อยครั้งที่ผู้ประกอบการวิชาชีพด้านสุขภาพหรือผู้ป่วยเป็นผู้เริ่มเฉลียวใจเรื่องผลที่ไม่คาดคิดจากวิธีการรักษา ทั้งที่ร้ายและดี [10] เนื่องจากการตรวจสอบวิธีการรักษาซึ่งต้องใช้เพื่อขออนุญาตวางจำหน่าย ทำกับคนเพียงไม่กี่ร้อย หรือไม่กี่พันคน และให้วิธีการรักษานานไม่กี่เดือน ในขั้นนี้จึงมักพบ เพียงผลข้างเคียงระยะสั้นและผลข้างเคียงที่พบบ่อย ต้องรอจนมีการใช้วิธีการรักษาดังกล่าวกันแพร่หลายขึ้น เป็นระยะเวลานานขึ้นและในกลุ่มผู้ป่วยที่หลากหลายกว่าที่เข้าร่วมในการตรวจสอบเพื่อขออนุญาต จึงจะพบผลข้างเคียงที่พบได้ยาก หรือที่ใช้เวลากว่าจะแสดงออก ในหลายๆ ประเทศ รวมถึงสหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ สวีเดน เดนมาร์ก […]

| 2 Comments
Book cover

รูปแบบต่างๆ ในการใช้การจัดสรรอย่างไม่ลำเอียง (แบบสุ่ม) เพื่อเปรียบเทียบวิธีการรักษา

การสุ่มแยกตัวอย่างเพื่อเปรียบเทียบวิธีการรักษาใช้ได้หลายรูปแบบ เช่น อาจใช้ในการเปรียบเทียบวิธีการรักษาต่างๆ โดยสุ่มลำดับในผู้ป่วยรายเดิม ซึ่งเรียกว่า “การทดลองแบบสุ่มไขว้ (randomized cross-over trial)” เช่น ในการประเมินว่ายาสูดช่วยผู้ป่วยที่ไอแห้งต่อเนื่องได้หรือไม่ อาจออกแบบการศึกษาให้นาน 2-3 เดือน โดยสุ่มให้ผู้ป่วยใช้เครื่องพ่นยาที่มีตัวยาในบางสัปดาห์ ส่วนสัปดาห์ที่เหลือให้ใช้เครื่องพ่นยาที่หน้าตาเหมือนกันทุกประการแต่ไม่มีตัวยา การทำให้ผลจากการวิจัยสอดคล้องกับผู้ป่วยเป็นรายๆ ไปเช่นนี้สมควรทำหากทำได้ แต่ก็มีหลายกรณีที่ไม่อาจทำการศึกษาแบบไขว้เช่นนี้ เช่น […]

| 0 Comments
Book cover

การจัดสรรวิธีการรักษาต่างๆ ตามแผนโดยไม่ลำเอียง

ในปี ค.ศ. 1854 แพทย์ทหาร โทมัส เกรแฮม บาลโฟร์ ซึ่งมีหน้าที่ดูแลโรงเลี้ยงเด็กกำพร้าของกองทัพ พิสูจน์ว่าจะจัดกลุ่มวิธีการรักษาอย่างไรให้แน่ใจได้ว่าสิ่งที่เปรียบเทียบคล้ายคลึงกัน บาลโฟร์อยากรู้ว่าสมุนไพรเบลลาดอนนา (belladonna) ป้องกันไม่ให้เด็กเป็นไข้อีดำอีแดง (scarlet fever)[ด] ได้ดังที่มีผู้กล่าวอ้างหรือไม่ ดังนั้น “เพื่อเลี่ยงข้อครหาว่าลำเอียง” ตามที่เขาว่า เขาจึงจัดให้เด็กได้รับเบลลาดอนนา คนเว้นคน [5] […]

| 0 Comments
Book cover

การเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน

การเปรียบเทียบความรู้สึกและผลการรักษาของผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน แต่บังเอิญได้รับการรักษาแตกต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน ยังเป็นวิธีที่ใช้เพื่อประเมินผลของวิธีการรักษา ทว่าแนวทางนี้ก็อาจทำให้เข้าใจผิดโดยสิ้นเชิงเช่นกัน ปัญหาไม่ต่างจากการเปรียบเทียบโดยใช้ “กลุ่มควบคุมในอดีต” คือจะรู้ได้อย่างไรว่าก่อนเริ่มรักษา กลุ่มคนที่ได้รับวิธีการรักษาต่างๆ คล้ายกันจนเปรียบเทียบได้อย่างเที่ยงตรง หรือพูดอีกอย่างคือ สิ่งที่เปรียบเทียบคล้ายคลึงกันจริงหรือเปล่า ในกรณี “กลุ่มควบคุมในอดีต” นักวิจัยอาจใช้การปรับค่าทางสถิติและการวิเคราะห์ เพื่อให้แน่ใจว่าคล้ายคลึงกัน แต่ ก็ทำได้เฉพาะเมื่อมีการบันทึกและพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้วย แต่น้อยครั้งที่เกิดกรณีตรงเงื่อนไขเหล่านี้ การแปลผลการวิเคราะห์จึงต้องใช้ความระมัดระวัง หากหลงเชื่ออาจก่อให้เกิดเหตุสลดครั้งใหญ่ […]

| 0 Comments
Book cover

การเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับวิธีการรักษาอยู่ในขณะนั้นกับผู้ป่วยในอดีตที่คล้ายคลึงกัน แต่ได้รับการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีอื่น

บางครั้งนักวิจัยก็เปรียบเทียบผู้ป่วยที่รับการรักษาในขณะนั้นกับผู้ป่วยในอดีตที่คล้ายคลึงกัน แต่ได้รับการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีอื่น ซึ่งอาจให้หลักฐานที่เชื่อถือได้หากผลจากการรักษาเด่นชัด เช่น เมื่อวิธีการรักษาใหม่ช่วยให้ผู้ป่วยบางรายรอดชีวิตจากโรคซึ่งเมื่อก่อนหมดทางรอด ทว่าเมื่อผลของวิธีการรักษาแตกต่างกันไม่เด่นชัด แต่ยังสำคัญ การเปรียบเทียบกับ “กลุ่มควบคุมในอดีต” ก็อาจจะก่อปัญหา แม้นักวิจัยใช้การปรับค่าทางสถิติและการวิเคราะห์ เพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งที่เปรียบเทียบคล้ายคลึงกัน การ วิเคราะห์เหล่านี้ก็ไม่อาจพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องซึ่งไม่ได้บันทึกในผู้ป่วยแต่ละกลุ่ม ดังนั้น เราจึงไม่มีทางมั่นใจได้เต็มร้อยว่าสิ่งที่เปรียบเทียบนั้นคล้ายคลึงกัน จะเห็นปัญหาเหล่านี้ชัดเจนด้วยการเปรียบเทียบผลจากการใช้วิธีรักษาเดียวกันในผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน แต่คนละช่วงเวลา มีการวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะสุดท้าย 19 […]

| 0 Comments
Book cover

วิธีการรักษาที่ให้ผลปานกลาง แต่ก็สำคัญ

เนื้อเรื่องย่อย: การเปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับวิธีการรักษาอยู่ในขณะนั้นกับผู้ป่วยในอดีตที่คล้ายคลึงกัน แต่ได้รับการรักษาโรคนี้ด้วยวิธีอื่น การเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกันในช่วงเวลาเดียวกัน การจัดสรรวิธีการรักษาต่างๆ ตามแผนโดยไม่ลำเอียง รูปแบบต่างๆ ในการใช้การจัดสรรอย่างไม่ลำเอียง (แบบสุ่ม) เพื่อเปรียบเทียบวิธีการรักษา การตามสังเกตทุกคนที่อยู่ในการเปรียบเทียบวิธีการรักษา การจัดการเมื่อมีสิ่งที่ผิดไปจากวิธีการรักษาที่จัดสรรให้ ช่วยให้ผู้เข้าร่วมการศึกษาใช้วิธีการรักษาตามที่จัดสรรให้

| 0 Comments
Book cover

เปรียบเทียบสิ่งที่คล้ายกัน

การเปรียบเทียบคือแก่น การเปรียบเทียบคือแก่นของการตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรมทุกครั้ง บางครั้งแพทย์และผู้ป่วยก็เปรียบเทียบข้อดีของวิธีการรักษา 2 วิธีอยู่ในใจ เช่น ผู้ป่วยอาจรู้สึกว่าตนหรือผู้อื่นตอบสนองต่อวิธีการรักษาหนึ่งต่างจากวิธีที่เคยใช้ อีกทั้งตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 อัล-ราซี แพทย์ชาวเปอร์เซีย ได้เปรียบเทียบผลการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitis) ด้วยการระบายเลือดทิ้ง (blood-letting) กับผลการรักษาในผู้ป่วยที่ไม่ได้รับวิธีการรักษาดังกล่าว เพื่อดูว่าการระบายเลือดทิ้งมีประโยชน์หรือไม่ ปกติวิธีการรักษาจะถูกตรวจสอบโดยเปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยซึ่งได้รับวิธีการรักษาต่างกัน การเปรียบเทียบนี้จะเที่ยงธรรมได้ก็ต่อเมื่อมั่นใจได้ว่าเป็นการเปรียบเทียบสิ่งที่คล้ายคลึงกัน นั่นคือ […]

| 2 Comments
Book cover

บทที่ 6 การตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรม

ประเด็นสำคัญ การตรวจสอบวิธีอย่างเที่ยงธรรมมีความจำเป็น เพราะไม่อย่างนั้นเราอาจสรุปว่าวิธีการรักษานั้นๆ มีประโยชน์ ทั้งที่จริงไม่มีหรือกลับกัน เป็นพื้นฐานของการตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรมทุกวิธี เมื่อเปรียบเทียบวิธีการรักษาต่างๆ (หรือเปรียบเทียบระหว่างการรักษากับการไม่รักษา) หลักการเรื่องคือสิ่งสำคัญที่สุด ต้องพยายามลดในการประเมินผลการรักษา[/getit]. ผู้อ่านหลายๆ ท่านอาจไม่คุ้นเคยกับหลักการต่างๆ ที่รองรับการตรวจสอบวิธีการรักษาอย่างเที่ยงธรรม ทั้งที่ไม่ซับซ้อน อันที่จริง การที่เราเข้าใจโลกตามสัญชาตญาณในชีวิตประจำวันก็ต้องพึ่งหลักการเหล่านี้ แต่โรงเรียนกลับไม่สอนให้กระจ่าง ทั้งหลักการเหล่านี้ยังมักถูกถ่ายทอดด้วยภาษาซับซ้อนเกินจำเป็น คนจำนวนมากจึงมองเมินหัวข้อนี้ เพราะเชื่อว่าเกินความสามารถตนจะเข้าใจได้ […]

| 2 Comments
Book cover

การให้การรักษาโดยเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจสอบอย่างเที่ยงธรรม

ถ้าอย่างนั้น ควรทำอย่างไรเมื่อมีที่สำคัญเกี่ยวกับผลของวิธีการรักษาทั้งใหม่หรือเก่า ซึ่งยังไม่ได้รับการประเมินอย่างเหมาะสม คำตอบที่เห็นชัดคือ ควรทำตามอย่างแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งผู้เขียนกล่าวถึงข้างต้น คือแก้ไขความไม่แน่นอนนั้น โดยใช้วิธีการรักษาที่ยังไม่ได้รับการประเมินอย่างเพียงพอเฉพาะเมื่ออยู่ในงานวิจัย ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อให้ทราบมากขึ้นเกี่ยวกับผลทั้งที่พึงปรารถนาและไม่พึงปรารถนา นักจริยธรรมทางการแพทย์กล่าวไว้ดังนี้ “ถ้าเราไม่แน่ใจข้อดีของวิธีการรักษา (ใดๆ) เราก็ไม่อาจแน่ใจถึงประโยชน์เมื่อใช้แต่ละวิธี เช่น ในการรักษาผู้ป่วยแต่ละราย ดังนั้น การยืนกรานว่าวิธีการรักษานี้ดีหรือไม่ดี ระหว่างงานวิจัยที่มีคุณภาพยังไม่เสร็จสิ้นจึงไม่สมเหตุสมผล ซ้ำยังผิดจริยธรรม คำตอบของคำถามว่า […]

| 0 Comments
Book cover

การสุ่มแยกตัวอย่าง (random allocation) – คำอธิบายอย่างง่าย

“การสุ่มตัวอย่างเป็นการลดความลำเอียง เพื่อให้มั่นใจว่าผู้ป่วยในแต่ละกลุ่มวิธีการรักษานั้นเหมือนกัน ทั้งด้านปัจจัยที่ทราบและไม่ทราบ ซึ่งจะทำให้แน่ใจได้ว่าการที่ผลแตกต่างกันในแต่ละกลุ่ม เป็น เพราะวิธีการรักษาให้ผลที่ต่างกัน ไม่ใช่เพราะความแตกต่างของผู้ป่วย การสุ่มปิดโอกาสที่แพทย์จะเลือกวิธีการรักษาให้ผู้ป่วยที่มีลักษณะเฉพาะ ไม่ว่าโดยจงใจ หรือไม่รู้ตัว เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่มี ลักษณะต่างๆ ก็เลือกวิธีการรักษาไม่ได้” Harrison J. Presentation to Consumers’ Advisory Group […]

| 0 Comments

No Resources Found

Try clearing your filters or selecting different ones.